Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/367
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorkanokluck nortongen
dc.contributorกนกลักษณ์ หน่อทองth
dc.contributor.advisorPusanisa thechatakerngen
dc.contributor.advisorภูษณิศา เตชเถกิงth
dc.contributor.otherMaejo University. Business Administrationen
dc.date.accessioned2020-12-28T02:36:06Z-
dc.date.available2020-12-28T02:36:06Z-
dc.date.issued2020-
dc.identifier.urihttp://10.1.245.54/dspace/handle/123456789/367-
dc.descriptionMaster of Business Administration (Master of Business Administration (Business Administration))en
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ))th
dc.description.abstractThis research aims to study strategies creating a competitive advantage in traditional retail stores at Chiang Mai Province by using a quantitative method. The sample group used in this study was 200 traditional retail store entrepreneurs using the Rao soft Sample size calculator program. Systematic sampling was used by the equal proportion method, and the statistics used in hypothesis testing are One way ANOVA,T-test, and LSD. The findings showed that females were the majority. They are between 46 and 55 years of age in marital status with primary education level, operated the store for more than 10 years, and constituted small retail stores. The strategic factors for competitive advantage had a moderate level of overall opinion; which was considered individually, it was found that the respondents had a moderate level of overall opinions on strategy to create competitive advantage. As the detail in each field was considered, in terms of the Cost Leadership field, respondents emphasized that the stores were located in the existing area with no rent. The stores are located beside the main road, thus it is easy to access the road; and there is enough parking space. Additionally, the respondents gave importance at a moderate level in terms of Difference Leadership; however, they focused on providing a return service for damaged products and organizing the products into clear categories with ease to select. In terms of Niche Leadership, respondents tended to have a good and close relationship with customers in order to meet the costumers’ needs that could be changed in time, moreover, they focus on offering better products than competitors' stores in each target market. The results of the hypothesis showed that entrepreneurs’ gender, male and female, had no effect on creating a competitive advantage among traditional retail operators at Chiang Mai Province. Contrastingly, the entrepreneurs’ characteristics of age between 25-35 years old, unmarried or marital status, education level of lower than elementary / did not study and the primary with 1-3 years business duration impact the traditional retail operators create a competitive advantage at Chiang Mai in a significance level of 0.05en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มุ่งศึกษากลยุทธ์สร้างความได้เปรียบในการแข่งขันร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิม ในจังหวัดเชียงใหม่ เป็นการศึกษาเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัย ได้แก่ ผู้ประกอบการร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิม จำนวน 200 ราย โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Rao soft Sample size calculator เป็นเครื่องคำนวณขนาดตัวอย่าง มีการสุ่มตัวอย่างแบบเป็นระบบ ( Systematic sampling) โดยใช้วิธีสัดส่วนที่เท่ากัน สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน คือ One way ANOVA,T-test และLSD ผลจากวิจัยพบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 46-55 ปี สถานภาพสมรส ระดับการศึกษาประถมศึกษา ประกอบกิจการมาแล้วมากกว่า 10 ปีขึ้นไป และเป็นร้านค้าปลีกขนาดเล็ก กลยุทธ์สร้างความได้เปรียบในการแข่งขันมีระดับความคิดเห็น โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับความคิดเห็นในการกลยุทธ์สร้างความได้เปรียบในการแข่งขันโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณารายละเอียดในรายด้านพบว่า ด้านการเป็นผู้นำด้านต้นทุน ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญของร้านค้าตั้งอยู่พื้นที่เดิมที่มีอยู่แล้ว ไม่มีการเช่าพื้นที่ทำการขาย ร้านค้าอยู่ติดกับถนนใหญ่ ทำให้สะดวกในการเดินทางมาใช้บริการ มีที่จอดรถเพียงพอ ตลอดจนด้านการเป็นผู้นำด้านความแตกต่างผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญอยู่ในระดับปานกลาง โดยให้ความสำคัญในการให้บริการเปลี่ยนคืนสินค้าหากชำรุด และมีการจัดวางสินค้าเป็นหมวดหมู่ชัดเจนหยิบจับง่าย และในด้านการเป็นผู้นำเฉพาะกลุ่มผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญในความสัมพันธ์ที่ดีและใกล้ชิดกับลูกค้า เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าที่เปลี่ยนไปได้ทันเวลา และมุ่งเน้นการนำเสนอสินค้าที่ดีกว่าร้านค้าคู่แข่งในแต่ละตลาดเป้าหมาย ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่าผู้ประกอบการเพศชายและเพศหญิงไม่มีผลต่อการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันของร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิม ในจังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งต่างจากผู้ประกอบการช่วงอายุระหว่าง 25-35 ปี มีสถานภาพโสดและสมรส ที่ระดับการศึกษาต่ำกว่าประถมศึกษา/ไม่ได้ศึกษา และประถมศึกษา ระยะเวลาดำเนินธุรกิจในช่วง 1-3 ปี มีผลต่อการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันของร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิม ในจังหวัดเชียงใหม่ ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05th
dc.language.isoth-
dc.publisherMaejo University-
dc.rightsMaejo University-
dc.subjectกลยุทธ์สร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน, ผู้ประกอบการ, ร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิมth
dc.subjectcompetitive advantage strategiesen
dc.subjectentrepreneursen
dc.subjecttraditional retail storesen
dc.subject.classificationBusinessen
dc.titleBUILDING COMPETITIVE ADVANTAGE FORTRADITIONAL REETAIL, CHIANGMAIen
dc.titleกลยุทธ์สร้างความได้เปรียบในการแข่งขันของร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิมในจังหวัดเชียงใหม่th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
Appears in Collections:Business Administration

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6106401001.pdf1.33 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.