Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/2179
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorศรัณยา ใจตุ้ย, sarunya jaituy-
dc.date.accessioned2024-06-28T07:10:33Z-
dc.date.available2024-06-28T07:10:33Z-
dc.date.issued1998-
dc.identifier.urihttp://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/2179-
dc.description.abstractการวิเคราะห์เศรษฐกิจการผลิตถั่วเหลืองฤดูแล้งในจังหวัดเชียงใหม่ ปีการเพาะปลูก 2538/2539 = Production analysis of dry season soybean in Chiangmai province, crop year 1995/1996การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์คือ (1) เพื่อศึกษาสภาพเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรผู้ปลูกถั่วเหลืองฤดูแล้ง ในจังหวัดเชียงใหม่ (2) เพื่อศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตถั่วเหลืองฤดูแล้ง (3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการผลิตถั่วเหลืองฤดูแล้งในจังหวัดเชียงใหม่ ปีการเพาะปลูก 2538/2539การสุ่มตัวอย่างทำโดยวิธีMu lt i-stage Samp ling โดยรวบรวมข้อมูลจากเกษตรกรจำนวน 108 ราย โดยใช้แบบสัมภาษณ์ที่สร้างขึ้นตามวัตถุประสงค์ของการวิจัยจากนั้นนำข้อมูลที่รวบรวมได้มาวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสถิติสำเร็จรูปเพื่อการวิจัยทางและผ่านการทดสอบความเที่ยงตรงสังคมศาสตร์ (SPSS/pc')ผลการวิจัยมีดังนี้ เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศชายร้อยละ 76.85 และเป็นเพศหญิงร้อยละ 23. 15 อายุโดยเฉลี่ยของ เกษตรกรคือ 48 ปี เกษตรกรส่วนใหญ่มีการศึกษาในระดับประถมศึกษาปีที่4 คิดเป็นร้อยละ 75.92 การถือครองที่ดินเพื่อปลูกถั่วเหลืองฤดูแล้งส่วนใหญ่มีที่ดิน เป็นของตน เองทั้งหมดร้อยละ 57.41 เช่าร้อยละ 35. 18 และใช้ดินเดยใด้เปล่าหรือ ไม่เสีอค่าเช่าร้อยละ 7.41 เกษตรกรมีพื้นที่ปลูกถั่วเหลืองฤดูแล้งเฉลี่ยครัวเรือนละ 6.3 ไร่ มีจำนวนแรงงานครอบครัวที่ทำการปลูกถั่วเหลืองฤดูแล้ง ส่วนใหญ่ ปีการครัวเรือนละ 2 คน ในการผลิตถั่วเหลืองฤดูแล้งของ เกษตรกรจังหวัดเชียงใหม่เพาะปลูก 2538/ 2539 กษตรกรส่วนใหญ่ทำการผลิตโดยใช้พันธุ์ชม.60 ดเป็นร้อยละ 66.70 (4) ผลการวิเคราะห์ดันทุนและผลดอบแทนจากการผลิตถั่วเหลืองฤดูแล้ง พบว่ามีลันทุนทั้งหมด 1,977. 46 บาหต่อไร่ เป็นตันทุนผันแปรทั้งหมด 1,942.71 บาทต่อไร่ และล้นหุนคงที่ทั้งหมด 34.75 บาทต่อไร่ มีรายได้สุทธิเหนือต้นทุนทั้งหมด 1, 186.15 บาทต่อไร่ รายได้ลูทธิเหนือต้นทุนผันแปรทั้งหมด 1,220.90 บาทต่อไร่ และรายได้สุทธิเหนื่อต้นทุนคงที่ทั้งหมด 3, 128.86 บาทต่อไร่รายได้สุทธิจากการผลิตถั่วเหลืองฤดูแล้งของเกษตรกรในช่วงปีการเพาะปลูก 2538/2539 คิดเป็นร้อยละ 59.98 ของต้นทูนรวมการศึษาฟังก็ชันการผลิตพบว่าสมการแบบเส้นตรง (Linear) สามารถอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างปริมาผลผลิตและปัจจัยการผลิตได้ดีกว่าสมการในรูปของ Cobb-Doug 1as โดยปัจจัยการผลิตที่สามารถอธิบายการเปลี่อนแปลงของผลผลิด์ได้อย่างมีนัยสำคัฐทางสถิติ ประกอบด้วย แรงงาน เมล็ดพันธุ์ ปุ๋ยเคมี และยากำจัดวัชพืชอธิบายการเปลี่ยนแปลงของผลผลิตได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติโดยแรงงานเป็นปัจจัยที่สำคัญที่สุดในการผลิตถั่วเหลือง รองลงมาคือเมล็ดพันธุ์ ยากำจัดวัชพืช และปุ๋ยเคมีส่วนการศึกษาประลิทธิภาพทางเทคนิค พบว่าหากมีการเพิ่มการใช้แรงงาน1 วันทำงานจะทำให้ผลผลิตถั่วเหลืองเพิ่มขึ้น 12.79 กิโลกรัม การเพิ่มการใช้เมล็ดพันธุ์ 1กิโลกรัมจะมีผลทำให้ผลผลิตถั่วเหลืองเพิ่มขึ้น 5. 85 กิโลกรัม การเพิ่มการใช้ปุ๋ยเคมี 1 กิโลกรัมจะมีผลทำให้ผลผลิตถั่วเหลืองเพื่มขึ้น 2.41 กิโลกรัมและการเพิ่มการใช้ยากำจัดวัชพืช 1 ซีซี. จะทำให้ผลผลิตถั่วเหลืองเพิ่มชั้น 0.20 กิโลกรัม จากการศึกษาประสิทธิภาพทาง เศรษฐกิจพบว่า หากเกษตรกรมีการใช้ปัจจัยแรงงานเมล็ดพันธุ์ปุ๋ยเคมี และยากำจัดวัชพืช เพื่มขึ้นจะทำให้ได้รับผลตอบแทนสุทธิสูงขึ้น"en_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยแม่โจ้en_US
dc.subjectการผลิตen_US
dc.subjectถั่วเหลืองen_US
dc.subjectเพาะปลูกen_US
dc.titleการวิเคราะห์เศรษฐกิจการผลิตถั่วเหลืองฤดูแล้งในจังหวัดเชียงใหม่ ปีการเพาะปลูก 2538/2539en_US
dc.title.alternativeProduction analysis of dry season soybean in Chiangmai province, crop year 1995/1996en_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Business Administration

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sarunya-jaituy.PDF1.83 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.