Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/126
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorparinrath kabchanen
dc.contributorปริณรัฐ กาบจันทร์th
dc.contributor.advisorJongkolbordin Saenga-saphawiriyaen
dc.contributor.advisorจงกลบดินทร์ แสงอาสภวิริยะth
dc.contributor.otherMaejo University. Business Administrationen
dc.date.accessioned2020-01-17T04:11:02Z-
dc.date.available2020-01-17T04:11:02Z-
dc.date.issued2018-
dc.identifier.urihttp://10.1.245.54/dspace/handle/123456789/126-
dc.descriptionMaster of Business Administration (Master of Business Administration (Business Administration))en
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ))th
dc.description.abstractThis study aimed to explore litchi supply chain and litchi supply chain competency of the litchi grower group in Chaiprakan district, Chiang Mai province. A set of questionnaires was constructed based on review of related literature and SCOR Model and it was administered with 400 litchi growers 7 product distributors in Chaiprakan district. Obtained data were analyzed by using descriptive statistics i.e. percentage, frequency, mean, standard deviation. Results of the study revealed that, as a whole, the litchi grower respondents perceived the supply chain process, supply chain performance, and collaborative supply chain at a moderate level. However, the product distributor respondents perceived the supply chain performance, collaborative supply chain, and supply chain process at a high level.en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาห่วงโซ่อุปทานของลิ้นจี่ รวมทั้งศึกษาสมรรถนะโซ่อุปทานของการผลิตลิ้นจี่ กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกลิ้นจี่พื้นที่อำเภอไชยปราการ จังหวัดเชียงใหม่ โดยการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) เก็บข้อมูลโดยให้กลุ่มตอบแบบสอบถาม (Questionnaire) ที่สร้างขึ้นมาจากการเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยนําการพัฒนาตัวชี้วัดด้านสมรรถนะของโซ่อุปทานจาก SCOR Model ใช้เป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกลิ้นจี่ จำนวน 400 ราย และผู้รวบรวมกระจายสินค้า จำนวน 7 ราย ในเขตอำเภอไชยปราการ จังหวัดเชียงใหม่ โดยข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามผู้วิจัยนำมามาวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ โดยใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน เพื่อจำแนกข้อมูล และนำข้อมูลที่ได้ทำการวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทาน วัดสมรรถนะโซ่อุปทานของลิ้นจี่ และอธิบายความสัมพันธ์ ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มเกษตรกรผู้ตอบแบบสอบถามให้ความเห็นว่า กระบวนการในห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain Process) โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง สมรรถนะของโซ่อุปทาน (Supply Chain Performance) โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ความร่วมมือในโซ่อุปทาน (Collaborative Supply Chain) โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และกลุ่มผู้รวบรวมและกระจายสินค้าผู้ตอบแบบสอบถามให้ความเห็นว่า สมรรถนะของโซ่อุปทาน (Supply Chain Performance) ของผู้รวบรวมและกระจายสินค้าโดยภาพรวมอยู่ในระดับสูง ความร่วมมือในโซ่อุปทาน (Collaborative Supply Chain) ของผู้รวบรวมและกระจายสินค้าโดยภาพรวมอยู่ในระดับสูง กระบวนการในโซ่อุปทาน (Supply Chain Process) ของผู้รวบรวมและกระจายสินค้าโดยภาพรวมอยู่ในระดับสูง    th
dc.language.isoth-
dc.publisherMaejo University-
dc.rightsMaejo University-
dc.subject.classificationBusinessen
dc.titleMANAGEMENT OF LITCHI SUPPLY CHAIN: A CASE STUDY OF LITCHI FARMERS IN CHAIPRAKAN DISTRICT, CHIANG MAI PROVINCEen
dc.titleการจัดการห่วงโซ่อุปทานของลิ้นจี่ กรณีศึกษากลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกลิ้นจี่อำเภอไชยปราการ จังหวัดเชียงใหม่th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
Appears in Collections:Business Administration

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5806401044.pdf2.12 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.