Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/919
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNarid Worrahanen
dc.contributorณฤทธิ์ วรหาญth
dc.contributor.advisorTipapon Khamdaengen
dc.contributor.advisorทิพาพร คำแดงth
dc.contributor.otherMaejo University. Engineering and Agro - Industryen
dc.date.accessioned2022-06-07T08:25:10Z-
dc.date.available2022-06-07T08:25:10Z-
dc.date.issued2022/03/28-
dc.identifier.urihttp://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/919-
dc.descriptionMaster of Engineering (Master of Engineering (Agricultural Engineering))en
dc.descriptionวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมเกษตร))th
dc.description.abstractThis thesis presents the hybrid solar drying dome. This drying is a technique of preserving raw materials adopting renewable energy such as environmentally friendly solar energy together with energy from cooking gas including a technology of a temperature control unit to enhance the drying efficiency. The drying dome has a width of 3.2 meters, a height of 2.5 meters, 4 meters long, raw materials  used in the test are 5 kilograms of bananas. In the test, the direction of the air inside the drying dome was simulated using different speeds of the motor, namely 700, 800, 900 and 1000 rpm. A drying dome without temperature control was compared with a temperature controlled dome. The final moisture content of dried bananas and the savings in cooking gas were studied. The fuel used for heating is 15 kg of LPG gas. The test was performed 3 times with the same material, and the temperature inside the drying dome was measured at 7 points by using thermocouples. Moisture was measured inside and outside the drying dome in all 7 points using a digital moisture analyzer. It was found that the temperature-controlled drying dome had more drying efficiency than the non-temperature-controlled drying dome. The mean temperature in the temperature-controlled dome during drying was 73.74 ± 2.06°C, the final moisture content of the product was in the required range of 7-12% within 5 hours, the gas consumption was 8.2 kg, and the drying efficiency was 1.136% and the non temperature-controlled dome had a mean temperature of 83.32 ± 2.7°C, and the final moisture content of the product was in the required range of 7-12% within 5 hours, the gas consumption was 11.4 kg, and the drying efficiency was 1.1%. This study improved the dome efficiency but still kept the quality of the banana drying product.en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้นำเสนอโดมอบแห้งพลังงานร่วมจากการอบแห้งเป็นเทคนิคการเก็บรักษาวัตถุดิบผลิตภัณฑ์จึงมีการนำพลังงานทดแทนมาใช้ เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และร่วมกับพลังงานจากแก๊สหุงต้ม ซึ่งมีการนำเทคโนโลยีชุดควบคุมอุณหภูมิมาช่วยในการอบแห้งจึงทำให้การอบแห้งมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยโดมอบแห้งมีขนาดความกว้าง 3.2 เมตร สูง 2.5 เมตร ยาว 4 เมตร วัตถุดิบที่ใช้ในการทดสอบ คือ กล้วยน้ำว้าปริมาณ 5 กิโลกรัม ในการทดสอบได้มีการจำลองทิศทางของอากาศภายในโดมอบแห้งโดยใช้ความเร็วรอบมอเตอร์ที่แตกต่างกัน ได้แก่ 700 800 900 และ 1000 rpm และในการทดสอบได้มีการเปรียบเทียบโดมอบแห้งที่ไม่มีชุดควบคุมอุณหภูมิกับโดมที่มีการควบคุมอุณหภูมิและศึกษาความชื้นสุดท้ายของกล้วยอบแห้งและการประหยัดแก๊สหุงต้ม เชื้อเพลิงที่ใช้ในการให้พลังงานความร้อน คือ แก๊ส LPG ขนาด 15 กิโลกรัม  ทำการทดสอบโดยใช้วัสดุชนิดเดียวกัน อย่างละ 3 ซ้ำ และวัดอุณหภูมิภายในโดมอบแห้ง ทั้งหมด 7 จุด โดยใช้เทอร์โมคัปเปิล วัดความชื้นภายในและนอกโดมอบแห้ง ทั้งหมด 7 จุด โดยใช้เครื่องวิเคราะห์ค่าความชื้นแบบดิจิตอล พบว่าโดมอบแห้งที่มีการควบคุมอุณหภูมิมีประสิทธิภาพการอบแห้งมากกว่าโดมอบแห้งแบบไม่มีการควบคุมอุณหภูมิ มีอุณหภูมิในโดมที่ใช้เครื่องควบคุมอุณหภูมิมีค่าเฉลี่ยขณะทำการอบแห้งเท่ากับ 73.74 ± 2.06 องศาเซลเซียส และมีความชื้นสุดท้ายของผลิตภัณฑ์ที่อยู่ในช่วงที่ต้องการคือ 7-12% ในระยะเวลา 5 ชั่วโมง มีการใช้ปริมาณแก๊สอยู่ที่ 8.2 กิโลกรัม และมีประสิทธิภาพการอบแห้ง 1.136 เปอร์เซ็นต์ และโดมที่ไม่ใช้เครื่องควบคุมอุณหภูมิมีค่าเฉลี่ยขณะทำการอบสูงสุดที่ 83.32 ± 2.70 องศาเซลเซียส และมีความชื้นสุดท้ายของผลิตภัณฑ์ที่อยู่ในช่วงที่ต้องการคือ 7-12% ในระยะเวลา 5 ชั่วโมง มีการใช้ปริมาณแก๊สอยู่ที่ 11.4 กิโลกรัม และมีประสิทธิภาพการอบแห้ง 1.1 เปอร์เซ็นต์ ทำให้การปรับปรุงประสิทธิภาพของโดมดียิ่งขึ้นแต่ยังคงคุณภาพของผลิตภัณฑ์กล้วยอบแห้งไว้คงที่ได้th
dc.language.isoth-
dc.publisherMaejo University-
dc.rightsMaejo University-
dc.subjectอบแห้งth
dc.subjectพาราโบลาโดมth
dc.subjectพลังงานความร้อนth
dc.subjectDryingen
dc.subjectParabola domeen
dc.subjectHeat energyen
dc.subject.classificationEnergyen
dc.titleTHE STUDY OF BANANA DRYING INSIDE A PARABOLIC DOMEen
dc.titleการศึกษาการอบแห้งกล้วยภายในพาราโบลาโดมth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Engineering and Agro - Industry

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6003309003.pdf5.85 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.