Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/898
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSittichon Deesaenen
dc.contributorสิทธิชน ดีแสนth
dc.contributor.advisorWittaya Daungthimaen
dc.contributor.advisorวิทยา ดวงธิมาth
dc.contributor.otherMaejo University. Architecture and Environmental Designen
dc.date.accessioned2022-03-15T03:03:47Z-
dc.date.available2022-03-15T03:03:47Z-
dc.date.issued2022/03/28-
dc.identifier.urihttp://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/898-
dc.descriptionMaster of Urban and Regional Planning (Master of Urban and Regional Planning (Environmental and Urban Planning))en
dc.descriptionการวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต (การวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต (การวางผังเมืองและสภาพแวดล้อม))th
dc.description.abstractThe distance of the food from the source of production to the final consumer indicates the ecological cost. The closer distance will cause less ecological cost than the longer one. This article is the case study of Chiang Mai food mile for the purpose of analysing the food miles from 1.) analyse food miles from the source of production to Mueang Mai market, Chiang Mai province. 2.) to analyse the ecological cost of food miles. 3.) analyze the pattern of food miles and production potential of each area,and 4.) suggest ;on to manage the cost caused by food miles to the ecology that occur to lead the way to reduce the ecological cost caused by food miles in Chiang Mai city. The source of production to the consumer in Chiang Mai by collecting the data of the source of agricultural products, the number of products, and the transportation distant from the questionnaire to calculate the food miles, using the weighted average source distance (WASD) to calculate the Greenhouse Gas (GHG) emission. The result shows that Chiang Mai people’s food miles have the weighted average source distance of 71.3 kilometres, 2.96 tCO2e as the Greenhouse Gas emission rate. For the cost of transportation, the calculating of the transportation cost average is 223.95 Baht/ton. The food consumption on closer distance to the source, or the noncommercial cultivation not only reduces the effect of the food miles, but also builds the stability and balance of the food on the scale of a city, community, and household for the sufficiency, accessibility, benefit, and balance of the food. The data shows the situation and important source of Chiang Mai people that requires a standard and management direction to secure and develop the potential of the source location which sustainably creates stability of food and safeguard the ecosystem of Chiang Mai city.en
dc.description.abstractระยะทางของอาหารจากผู้ผลิตถึงผู้บริโภคบ่งชี้ถึงต้นทุนทางนิเวศ โดยระยะทางอาหารที่ใกล้จะมีต้นทุนทางนิเวศที่ต่ำกว่าระยะทางอาหารที่ส่งมาจากระยะทางที่ไกลกว่า ในการศึกษานี้เป็นกรณีศึกษาระยะทางอาหารของของเมืองเชียงใหม่ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.)วิเคราะห์ระยะทางอาหารจากแหล่งผลิตถึงตลาดกลางเมืองเชียงใหม่ 2.)เพื่อประเมินต้นทุนทางนิเวศสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากระยะทางอาหาร 3.)วิเคราะห์รูปแบบของระยะทางอาหารและศักยภาพในการผลิตของแต่ละพื้นที่และ4.)เสนอแนะแนวทางการจัดการต้นทุนที่เกิดจากระยะทางอาหารต่อนิเวศสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นเพื่อนำไปสู่แนวทางการลดต้นทุนนิเวศที่เกิดจากระยะทางอาหารของเมืองเชียงใหม่ โดยใช้เครื่องมือในการเก็บข้อมูลแหล่งที่มาของผลผลิตทางการเกษตร ปริมาณผลผลิตและระยะทางการขนส่งจากแบบสอบถาม ข้อมูลที่ได้นำมาซ้อนทับลงในระบบGIS แสดงผลออกมาในรูปแบบของแผนที่แหล่งที่มาของการขนส่ง นำไปคำนวณหาค่าระยะทางอาหารเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก(WASD) และนำไปคำนวณหาค่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจก(GHG) ผลการศึกษาพบว่าอาหารของคนเชียงใหม่มีระยะทางอาหารเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักเท่ากับ 71.3 กิโลเมตร คิดเป็นอัตราการปล่อยก๊าซเรือนกระจก 2.96 tCO2e ในด้านต้นทุนการขนส่งสามารถหาค่าเฉลี่ยต้นทุนการขนส่งอาหารได้เท่ากับ 223.95 บาท/ตัน การบริโภคอาหารในระยะทางที่ใกล้จากแหล่งผลิตนอกจากจะช่วยลดผลกระทบที่เกิดจากระยะทางอาหาร อีกทั้งยังสามารถช่วยสร้างความมั่นคงทางอาหารในระดับเมือง ชุมชนและครัวเรือน ข้อมูลดังกล่าวชี้ให้เห็นถึงสถานการณ์และแหล่งผลิตอาหารที่สำคัญของคนเมืองเชียงใหม่ที่ต้องการมาตรการและแนวทางในการบริหารจัดการเพื่อรักษาและพัฒนาศักยภาพของพื้นที่ที่เป็นแหล่งอาหารที่สร้างความมั่นคงทางอาหารและรักษาระบบนิเวศสิ่งแวดล้อมของเมืองเชียงใหม่อย่างยั่งยืนth
dc.language.isoth-
dc.publisherMaejo University-
dc.rightsMaejo University-
dc.subjectระยะทางอาหารth
dc.subjectระบบนิเวศth
dc.subjectสิ่งแวดล้อมth
dc.subjectFood milesen
dc.subjectecosystemen
dc.subjectenvironmenten
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleGUIDELINES FOR THE MANAGEMENT ECOLOGICAL COST OF FOODMILES : A CASE STUDY OF CHIANG MAI FOOD SUPPLY.en
dc.titleแนวทางการจัดการต้นทุนทางนิเวศสิ่งแวดล้อมของระยะทางอาหาร กรณีศึกษาแหล่งอาหารของเมืองเชียงใหม่th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Architecture and Environmental Design

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6019302003.pdf6.84 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.