Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/883
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สุรชัย ศาลิรัศ, surachai salirat | - |
dc.contributor.author | นพพร บุญปลอด | - |
dc.contributor.author | อรพินธุ์ สฤษดิ์นำ | - |
dc.contributor.author | อนุกูล จันทร์แก้ว | - |
dc.date.accessioned | 2022-01-21T09:23:01Z | - |
dc.date.available | 2022-01-21T09:23:01Z | - |
dc.date.issued | 2017 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/883 | - |
dc.description.abstract | การศึกษาระบบการปลูก การเจริญเติบโต และการผลิตมะกลิ้ง โดยเก็บรวบรวมมะกลิ้งจากอําเภอ สะเมิงและอําเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ ทําการเปรียบเทียบและศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตร์และ สัณฐานของใบ ผล และ เมล็ด พบว่าสัณฐานวิทยาของมะกลิ้งที่ปลูกในแต่ละแหล่งมีความแตกต่างกัน มะกลิ้งจากแหล่งอําเภอสะเมิงมีจํานวนแฉกของใบ 0 - 3 แฉก และมะกลิ้งจากแหล่งอําเภอแม่แตงมีจํานวน แฉกของใบ 5 แฉก ผลจากทั้งสองแหล่งมีลักษณะกลม ขนาดใหญ่ น้ําหนัก 750 - 1,100 กรัม เนื้อผลมีสีขาว นุ่ม รสขม ภายในผลมีเมล็ดเปลือกแข็ง ขนาดใหญ่ 6 เมล็ด สําหรับการขยายพันธุ์มะกลิ้งแบบอาศัยเพศโดย ทดลองแกะเปลือกแข็งหุ้มเมล็ดออก เปรียบเทียบกับการไม่แกะเปลือกหุ้มเมล็ด พบว่า เมล็ดที่แกะเปลือก แข็งหุ้มเมล็ดออกสามารถงอกได้ดีกว่าเมล็ดที่มีเปลือกแข็งหุ้ม สามารถงอกได้ภายใน 13 วันหลังจากการ เพาะ ส่วนการขยายพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ ด้วยวิธีการชําข้อ การปักชําเถา การเปลี่ยนยอด และการเสียบข้าง พบว่า การชําข้อเป็นการกระตุ้นให้เกิดรากจากการชําบริเวณข้อเป็นวิธีที่ทําให้เกิดรากได้ดีกว่าวิธีอื่นๆ นอกจากนี้การจัดทรงต้นขึ้นค้างแบบตัว H และ ตัว T เปรียบเทียบกับการปล่อยขึ้นค้างตามธรรมชาติ พบว่า การจัดเถาขึ้นค้างทําได้ค่อนข้างยาก ไม่สามารถทําได้ แต่พบการแตกยอดใหม่บริเวณโคนต้น ในการศึกษา พ่นสารควบคุมการเจริญเติบโตเพื่อกระตุ้นการออกดอกของต้นมะกลิ้ง โดยการกระตุ้นให้เกิดตาดอกตาม กรรมวิธี ดังนี้ ได้แก่ กรรมวิธีควบคุม, ราดสารพาโคบิวทาโซล 0.5, 1.0 และ 1.5 g / ai/ m ของทรงพุ่ม พบว่า สารพาโคลบิวทราโซลมีแนวโน้มลดการเจริญเติบโตทางกิ่งใบทําให้ความยาวเถา ความยาวปล้อง ปริมาณ คลอโรฟิลล์ และพื้นที่ใบลดลง แต่ไม่สามารถกระตุ้นการออกดอกได้ และศึกษาผลของการควบคุมการ เจริญเติบโตของพืชต่อการติดผล การเจริญเติบโตของผลและคุณภาพของผลผลิต ไม่สามารถทําตามกรรมวิธี ได้ เนื่องจากต้นมะกลิ้งไม่ออกดอก ปริมาณกรดไขมันในเมล็ดมะกลิ้ง กรดไขมันอิ่มตัว ที่พบมากที่สุด คือ กรดปาล์มมิติก มีปริมาณกรดไขมัน 37.22% และกรดไขมันไม่อิ่มตัว ที่พบมากที่สุด คือ กรดลิโนเลอิก ซึ่งมี luvunsa'lujuojň 41.13% | en_US |
dc.description.sponsorship | Maejo University | en_US |
dc.publisher | Maejo University | en_US |
dc.subject | มะกลิ้ง(พืช) | en_US |
dc.subject | มะกลิ้ง(พืช) -- การปลูก | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยแม่โจ้ -- ผลงานวิจัย | en_US |
dc.subject | มะกลิ้ง(พืช) -- การขยายพันธุ์ | en_US |
dc.subject | พืช -- การขยายพันธุ์ | en_US |
dc.title | ระบบการปลูก การเจริญเติบโต และการผลิตมะกลิ้ง | en_US |
dc.title.alternative | Study on planting system, growth and development and production of Ma King | en_US |
dc.title.alternative | รายงานผลการวิจัยเรื่อง ระบบการปลูก การเจริญเติบโต และการผลิตมะกลิ้ง | en_US |
Appears in Collections: | Agricultural Production |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
surachai_salirat.pdf | 53.96 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.