Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/858
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorนพพร บุญปลอด, nopporn boonplod-
dc.date.accessioned2022-01-21T04:43:00Z-
dc.date.available2022-01-21T04:43:00Z-
dc.date.issued2016-
dc.identifier.urihttp://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/858-
dc.description.abstractการศึกษาการจัดการ การเขตกรรมและการพัฒนาคุณภาพผลผลิตมะเกี่ยง ทําการตัดแต่งกิ่งและจัดทรงต้นมะเกี่ยง จากการทดลองสามารถทําได้ภายใน 8 เดือนหลังจากทําการเปลี่ยนยอด โดยจัดทรงต้น มะเกี่ยงแบบเปิดกลางทรงพุ่มและแบบฝาชีหงาย พบว่าการจัดทรงต้นทั้ง 2 แบบ มีการเจริญเติบโตของกิ่ง กระโดงเกิดขึ้นจํานวนมากบนกิ่งหลักเมื่อเปรียบเทียบกับต้นที่ไม่จัดทรงต้น ต้นมะเกี้ยงที่ได้รับการจัดทรง ต้นมีความสูงของต้นไม่เกิน 1.2 เมตร เมื่อเปรียบเทียบกับต้นที่ไม่ได้รับการจัดทรงต้นมีความสูงมากกว่า 1.5 เมตร สําหรับกรรมวิธีที่เหมาะสม ในการบังคับการออกดอกของมะเกี่ยง ทําการทดลองตามกรรมวิธีดังนี้ กรรมวิธีควบคุม คลุมตาข่ายพลางแสง 80 % , เด็ดใบทิ้งทั้งต้น การตัดราก, การควั่นโคนต้น และ การราด สารพาโคบิวทาโซลทางดิน อัตรา 0.5, 1.0 และ 1.5 กรัม ของสารออกฤทธิ์ใต้ทรงพุ่ม พบว่าทุกกรรมวิธีไม่ สามารถกระตุ้นการออกดอกของมะเกี่ยงได้ แต่การทดลอง การราดสารพาโคบิวทาโซล อัตรา 1.0 กรัม และ 1.5 กรัม ของสารออกฤทธิ์ใต้ทรงพุ่ม ทําให้การเจริญเติบโตของกิ่งใบของต้นมะเกี่ยงลดลงมากกว่ากรรมวิธีอื่นen_US
dc.description.sponsorshipMaejo Universityen_US
dc.publisherMaejo Universityen_US
dc.subjectมะเกี๋ยง -- การปลูกen_US
dc.titleการจัดการการเขตกรรมและการพัฒนาคุณภาพผลผลิตมะเกี๋ยงen_US
dc.title.alternativeCultivation management and yield quality of making (Cleistocalyx operculatus Var. Paniala)en_US
dc.typeBooken_US
Appears in Collections:AP-Bachelor’s Project

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
nopporn_boonplod.pdf6.38 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.