Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/831
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorManolom Vongsenekeoen
dc.contributorManolom Vongsenekeoth
dc.contributor.advisorSutheera Hermhuken
dc.contributor.advisorสุธีระ เหิมฮึกth
dc.contributor.otherMaejo University. Agricultural Productionen
dc.date.accessioned2021-12-14T07:10:19Z-
dc.date.available2021-12-14T07:10:19Z-
dc.date.issued2021-
dc.identifier.urihttp://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/831-
dc.descriptionMaster of Science (Geosocial Based Sustainable Development)en
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การพัฒนาภูมิสังคมอย่างยั่งยืน))th
dc.description.abstractThe objective of this research was to study the natural distribution of Melientha suavis Pierre and the way in which people in Ban Pong community, Pa Phai sub-district, San Sai district, Chiang Mai province harvested Melientha suavis according to their geosocial settings within the deciduous dipterocarp forest (DDF) at Ban Pong development project area of a Royal Initiative Project, San Sai district, Chiang Mai province. For this purpose, the temporary survey plots were systematically set up to include 15 sampling points and within each sampling point included 3 of the 30x30 m2 subplots, which made 45 plots in total. All tree species with a diameter at breast height (DBH) larger than 4.5 cm were identified; DBH was measured and the number and distribution of all Melientha suavis seedlings together with topographical conditions and soil properties within plots were recorded. The collected data were analyzed using the important value index (IVI) to specify the dominant tree species, and Shannon–Wiener index was calculated for diversity.  Differences in the number of Melientha suavis seedlings among areas were analyzed using the Kruskal Wallis test and the relationship between natural distribution of Melientha suavis seedlings and environmental factors were analyzed using a simple linear regression analyzed, correlation coefficient determined, and a generalized linear model. Afterwards, information on the gathering of Melientha suavis by people in Ban Pong community were collected using focus group discussion specifically with people involving in Melienthia suavis gathering activity. The Ban Pong development project area used for this study is a deciduous dipterocarp forest locates at 314 to 443 msl. with soil that composes of more than 50 percent sand particles, and the soil type was sandy loam and was strongly acidic with average pH of 5.13 and had other soil chemical properties ranging from relatively low to quite high levels. Dipterocarpus obtusifolius ranked first among dominant species and showed moderate species diversity based on Shannon–Wiener Index of 2.78. As for natural distribution of Melientha suavis seedlings, number of seedlings was not significant different among plots, whereby total number of seedlings found in study areas was 488 at the density of 120 individuals/hectare. Among the different environmental factors associated with the density of Melientha suavis seedlings, among the biotic factors, it was found that numbers of Melientha suavis at mature stage, Quercus kerii and Wendlandia paniculate had positive effect on natural distribution of Melientha suavis seedlings at r=0.55, 0.55 and 0.64, respectively, while numbers of Lannea coromandelica had negative effect on natural distribution at r=-0.18. For abiotic factors, slope was found to have negative effect on natural distribution of Melientha suavis seedlings (r=-0.56), while extractable manganese (Mn) had positive effect on natural distribution of Melientha suavis seedlings (r=0.62). The result of a generalized linear model analyzed by the model with the lowest Akaike’s information criterion (AIC) showed that the percentage of sand particles, extractable copper (Cu) and extractable manganese (Mn) were positively associated with natural distribution of Melientha suavis seedlings at p<0.001. On the other hands, slope, distance from natural stream and soil pH were negatively associated with natural distribution of Melientha suavis seedlings at p<0.001. As for the gathering characteristics of Ban Pong community, the method involved forest fire, branch pruning, stems shortening, leaf pruning, and digging seedlings for cultivation in home garden. Only 1.02 percent of total population involved in gathering young leaves of Melientha suavis from the DDF at Ban Pong development project area of Royal Initiative Project, mostly for household consumption.  Until now, there has been no measure in place for regulating the gathering of Melientha suavis or for the promotion of its conservation. The results of this research are useful for community forest management and for the restoration of Melientha suavis population in the forest so that it can continue provide sufficient products for the community.  Information from this research can also be useful for the management of environmental factors to suit the growth of Melienthia suavis that may be utilized by farmers for managing Melienthia suavis plantation.en
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการขึ้นกระจายตามธรรมชาติ และลักษณะการเก็บผักหวานป่าในภูมิสังคมชุมชนบ้านโปง ตำบลป่าไผ่ อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ในพื้นที่ป่าเต็งรัง โครงการพัฒนาบ้านโปงอันเนื่องมาจากพระราชดำริ อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ โดยทำการวางแปลงสำรวจชั่วคราว ด้วยการสุ่มอย่างเป็นระบบ ทำการกำหนดจุดสำรวจทั้งหมด 15 จุดสำรวจ แต่ละจุดสำรวจทำการวางแปลงขนาด 30 เมตร x 30 เมตร จำนวน 3 แปลง รวมทั้งหมด 45 แปลง ในแปลงตัวอย่างทำการระบุชนิดไม้องค์ประกอบ วัดขนาดต้นไม้ที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางมากกว่า 4.5 เซนติเมตรขึ้นไป บันทึกจำนวนกล้าผักหวานที่พบทั้งหมดในแปลงบริเวณที่ทำการศึกษาการกระจายของผักหวานป่าร่วมกับการเก็บข้อมูลสภาพภูมิประเทศ และคุณสมบัติดินในแปลงสำรวจ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าดัชนีความสำคัญ (IVI) เพื่อหาชนิดไม้เด่น และค่าดัชนีความหลากชนิดของ Shannon–Wiener วิเคราะห์ค่าความแตกต่างของจำนวนกล้าผักหวานป่า โดยการทดสอบความแปรปรวนของค่าความความแตกต่างด้วยการวิเคราะห์ข้อมูลแบบ Kruskal Wallis Test ทำการหาความสัมพันธ์ระหว่างการขึ้นกระจายตามธรรมชาติของกล้าผักหวานป่าและปัจจัยแวดล้อมต่าง ๆ โดยทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสมการทดถอยเชิงเส้นอย่างง่าย การระบุค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์แบบจำลองเชิงเส้นทั่วไป จากนั้นทำการรวบรวบข้อมูลลักษณะการเก็บผักหวานป่าของชุมชนบ้านโปง โดยการจัดทำเวทีกลุ่มแบบเจาะจงเฉพาะบุคคลที่เข้าไปเก็บผักหวานป่าในพื้นที่โครงการพัฒนาบ้านโปงอันเนื่องมาจากพระราชดำริ พื้นที่โครงการพัฒนาบ้านโปงซึ่งใช้ในการศึกษาการขึ้นกระจายของผักหวานในครั้งนี้ เป็นพื้นที่ป่าเต็งรังที่มีระดับความสูงจากระดับน้ำทะเลปานกลางระหว่าง 314 ถึง 443 เมตร และเนื้อดินมีอนุภาคขนาดทรายสูงมากกว่าร้อยละ 50 มีลักษณะดินเป็นดินร่วนปนทราย เป็นกรดจัด มีค่าความเป็นกรด-ด่างเฉลี่ยอยู่ที่ 5.13 และมีค่าสมบัติทางเคมีดินอื่น ๆ ตั้งแต่ระดับค่อนข้างต่ำจนถึงระดับค่อนข้างมาก มีเหียงเป็นชนิดไม้เด่น และมีค่าความหลากชนิดที่ระดับปานกลางที่ 2.78 ส่วนการขึ้นกระจายตามธรรมชาติของจำนวนต้นกล้าผักหวานป่าทั้งพื้นที่ ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยพบจำนวนกล้าผักหวานป่าทั้งหมด 488 ต้น คิดเป็น 120 ต้นต่อเฮกแตร์ และพิจารณาแนวโน้มความสัมพันธ์ของความหนาแน่นของกล้าผักหวานป่ากับปัจจัยแวดล้อมต่าง ๆ พบว่า ในปัจจัยชีวนะมีแนวโน้มความสัมพันธ์เชิงบวกกับจำนวนต้นแม่ของผักหวานป่า ก่อแพะ และแข้งกวางดง (0.55, 0.55 และ 0.64 ตามลำดับ) และมีความสัมพันธ์เชิงลบกับกุ๊ก (r=-0.18) ในส่วนปัจจัยอชีวนะ พบว่าความหนาแน่นของกล้าผักหวานป่ามีความสัมพันธ์เชิงลบกับความลาดชัน (r=-0.56) และมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับปริมาณแมงกานีสที่เป็นประโยชน์ (Mn) (r=0.62) ในด้านผลการวิเคราะห์สมการแบบจำลองเชิงเส้นทั่วไป โดยพิจารณาเลือกจากสมการที่มีค่า AIC น้อยที่สุด พบว่า อนุภาคขนาดทราย ทองแดงที่เป็นประโยชน์ (Cu) และแมงกานีสที่เป็นประโยชน์ (Mn) มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการขึ้นกระจายของกล้าผักหวานป่าอย่างมีนัยสำคัญที่ p<0.001 ส่วนความลาดชัน ระยะห่างจากแหล่งน้ำธรรมชาติ และความเป็นกรด-ด่างของดิน มีความสัมพันธ์เชิงลบอย่างมีนัยสำคัญที่ p<0.001 ต่อการขึ้นกระจายของกล้าผักหวานป่า ในส่วนของลักษณะการเก็บผักหวานป่าของชุมชนบ้านโปง พบว่า มีการใช้ไฟป่า การตัดแต่งกิ่ง การตัดลำต้นให้เตี้ย การลิดใบ และการขุดต้นกล้ามาปลูกที่บ้าน ทั้งนี้มีจำนวนผู้เก็บผักหวานป่าร้อยละ 1.02 ของจำนวนประชากรทั้งหมด ซึ่งเป็นการเก็บเพื่อบริโภคเป็นหลัก โดยการเก็บนั้นไม่มีกติกาใด ๆ และจนถึงปัจจุบันยังไม่ปรากฏกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์ผักหวานป่าเกิดขึ้น ผลการศึกษาสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการจัดการพื้นที่ป่า และการฟื้นฟูประชากรของผักหวานป่าในพื้นที่ให้เหมาะสมต่อความต้องการการใช้ประโยชน์ของชุมชนต่อไป รวมทั้งการปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้เหมาะแก่การปลูกผักหวานป่าสำหรับเกษตรกร และผู้ประกอบการต่อไปth
dc.language.isoth-
dc.publisherMaejo University-
dc.rightsMaejo University-
dc.subjectผักหวานป่าth
dc.subjectป่าเต็งรังth
dc.subjectปัจจัยแวดล้อมth
dc.subjectความต้องการทางนิเวศวิทยาth
dc.subjectMelientha suavisen
dc.subjectDeciduous dipterocarp foresten
dc.subjectEnvironmental factorsen
dc.subjectEcological nicheen
dc.subject.classificationAgricultural and Biological Sciencesen
dc.titleNATURAL DISTRIBUTION AND HARVESTING CHARACTERISTICS OF Melientha suavis Pierre IN GEOSOCIAL BASED ON BAN PONG COMMUNITY, PA PHAI SUB-DISTRICT, SAN SAI DISTRICT, CHIANG MAI PROVINCEen
dc.titleการขึ้นกระจายตามธรรมชาติ และลักษณะการเก็บผักหวานป่าในภูมิสังคม ชุมชนบ้านโปง ตำบลป่าไผ่ อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Agricultural Production

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6201417017.pdf14.58 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.