Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/760
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorMookda Aunkayen
dc.contributorมุกดา อุ่นกายth
dc.contributor.advisorPusanisa Thechatakerngen
dc.contributor.advisorภูษณิศา เตชเถกิงth
dc.contributor.otherMaejo University. Business Administrationen
dc.date.accessioned2021-09-08T06:20:32Z-
dc.date.available2021-09-08T06:20:32Z-
dc.date.issued2021-
dc.identifier.urihttp://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/760-
dc.descriptionMaster of Business Administration (Master of Business Administration (Business Administration))en
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ))th
dc.description.abstractThis research aims 1) to study the behavior of Klong Pak Pid eco-tourists, Pongprasart Subdistrict, Bang Saphan District, Prachuap Khiri Khan Province 2) to study the added value of community entrepreneurs for Klong Pak Pid ecotourism, Pongprasart Subdistrict, Bang Saphan District, Prachuap Khiri Khan Province. This research employed qualitative and quantitative methods: qualitative research conducted through in-depth interviews with 5 agencies engaged in Klong Pak Pid ecotourism and 7 Klong Pak Pid Community Entrepreneurs. Data was collected from 250 tourists who visited Klong Pak Pid ecotourism for Quantitative research. The qualitative research analysis, a researcher used the principle of data classification, data composition, and associated data in qualitative data analysis as inductive summaries. The statistical analysis used in quantitative research in hypothesis test included one-way ANOVA, T-test, and Fisher's Least-Significant Difference. Research findings showed that most tourists are female, ages between 21-30 years old, with a Bachelor's degree, being university students, having an average monthly income of 15,000 baht or more. Most of respondents came to relax and enjoy nature conservation. There are 4-6 people traveling together, mostly on Saturdays and Sundays.  Friends influenced on decision in visiting Klong Pak Pid ecotourism, traveling by private vehicle once with the budget of an ecotourism trip less than 500 baht per trip, interested in purchasing tie-dye products made of the bark of mangrove from entrepreneurs, planning to revisit the ecotourism once within a year. Creating added value for community entrepreneurs towards ecotourism a high level of opinion as overall. When considering each factor found that in term of product showed that tourists are very focused on a wide range of activities such as kayaking, tie-dye handmade, and Pracharat market have gained great interest amoung tourists in Klong Pak Pid ecotourism. Service showed high level among tourists prioritize on systematic service standards, speed and accuracy of payment as it welcome and facilitates tourists at Klong Pak Pid ecotourism.  Personnel showed high level among tourists in staffs who are very skilled in the traveling route and knowledge of ecotourism, as the staffs are local people who have high skill in the route. Physical evidence showed high level among tourists who emphasis on Pak Pak Pid ecotourism tourist attractions and taking good care of tourists which allowed tourists to visit the hazardous areas while monitoring closely for the safety of tourists. Hypothetical test results showed that general information of male and female tourists does not affect toward creating value added community entrepreneurs for Klong Pak Pid ecotourism. Which is different from the ages, education level, status, average monthly income and occupation have direct influenced toward creating value added of community entrepreneurs for Klong Pak Pid ecotourism at a significance level 0.05 en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์คลองปากปิด ตำบลพงศ์ประศาสน์ อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 2) เพื่อศึกษาการสร้างมูลค่าเพิ่มของผู้ประกอบการชุมชนสำหรับการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์คลองปากปิด ตำบลพงศ์ประศาสน์ อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์  การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงประมาณ วิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้แบบสัมภาษณ์ แบบเจาะลึก กับผู้นำชุมชนท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์คลองปิด จำนวน 5 คน และการสัมภาษณ์กลุ่มผู้ประกอบการชุมชนคลองปากปิด จำนวน 7 คน วิจัยเชิงประมาณ โดยใช้การเก็บรวบรวมข้อมูลกลุ่มนักท่องเที่ยวที่มาท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์คลองปากปิด จำนวนกลุ่มตัวอย่าง 250 ตัวอย่าง การวิเคราะห์วิจัยเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยใช้หลักการจำแนกข้อมูล เรียบเรียงข้อมูล เชื่อมโยงข้อมูลในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพเป็นแบบสรุปอุปนัย ส่วนการวิเคราะห์วิจัยเชิงประมาณ โดยใช้สถิติในการทดสอบสมมติฐาน คือ One way ANOVA T-test และ Fisher’s Least-Significant Difference ในการเปรียบเทียบรายคู่ ผลวิจัยพบว่า นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อยู่ในช่วงอายุระหว่าง 21-30 ปี มีระดับการศึกษาปริญญาตรี ประกอบการอาชีพนักเรียน/นักศึกษา และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 15,000 บาทขึ้นไป ส่วนใหญ่มาท่องเที่ยวเพื่อผักผ่อนเที่ยวชมอนุรักษ์ธรรมชาติ มีจำนวนสมาชิกเดินทางมาท่องเที่ยวด้วยจำนวน 4-6 คน นิยมเดินทางมาท่องเที่ยววันเสาร์-อาทิตย์ เพื่อน ทำให้ตัดสินใจมาท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์คลองปากปิด เดินทางมาท่องเที่ยวโดยใช้ยานพาหนะรถยนต์ส่วนตัว ความถี่ในการเดินทางมาท่องเที่ยว 1 ครั้ง  มีค่าใช้จ่ายในการเดินทางมาท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ต่ำกว่า 500 บาท/ครั้ง สนใจซื้อผลิตภัณฑ์ของผู้ประกอบการผ้ามัดย้อม จากเปลือกโกงกาง และคิดว่าจะเดินทางกลับมาท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ 1 ครั้งภายใน 1 ปี  การสร้างมูลค่าเพิ่มของผู้ประกอบการชุมชนสำหรับการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์คลองปากปิด มีระดับความคิดเห็น โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ด้านผลิตภัณฑ์ นักท่องเที่ยวให้ความสำคัญอยู่ในระดับมาก โดยให้ความสำคัญมีความหลากหลายของการจัดกิจกรรม เช่น พายเรือคายัค ทำผ้ามัดย้อม ตลาดนัดประชารัฐ เป็นต้น เป็นที่สนใจของนักท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์คลองปากปิดเป็นอย่างมาก ด้านบริการนักท่องเที่ยวให้ความสำคัญอยู่ในระดับมาก โดยให้ความสำคัญมาตรฐานการให้บริการอย่างเป็นระบบ ความรวดเร็วและถูกต้อง ในการชำระเงิน เป็นการต้อนรับและให้ความอำนวยความสะดวกให้นักท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์คลองปากปิด ด้านบุคลากรนักท่องเที่ยวให้ความสำคัญในระดับมาก โดยให้ความสำคัญเจ้าหน้าที่มีความชำนาญด้านเส้นทางและความรู้เกี่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ เนื่องจากเจ้าหน้าที่เป็นคนในพื้นที่ จะมีความชำนาญในเส้นทางอย่างมาก ด้านภาพลักษณ์นักท่องเที่ยวให้ความสำคัญอยู่ในระดับมาก โดยให้ความสำคัญทางแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์คลองปากปิดมีการดูแลนักท่องเที่ยวเป็นอย่างดี จะไม่มีการปล่อยให้นักท่องเที่ยวไปยังพื้นที่เหตุอันตราย จะคอยดูแลอย่างใกล้ชิด เพื่อความปลอดภัยของนักท่องเที่ยว ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ข้อมูลทั่วไปของนักท่องเที่ยวเพศชายเพศหญิง ไม่มีผลต่อการสร้างมูลค่าเพิ่มของผู้ประกอบการชุมชนสำหรับการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์คลองปากปิด ซึ่งต่างจากช่วงอายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน และอาชีพ มีผลต่อการสร้างการสร้างมูลค่าเพิ่มของผู้ประกอบการชุมชนสำหรับการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์คลองปากปิด ที่ระดับนัยสำคัญ0.05th
dc.language.isoth-
dc.publisherMaejo University-
dc.rightsMaejo University-
dc.subjectการสร้างมูลค่าเพิ่ม, ผู้ประกอบการชุมชน, การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์th
dc.subjectValue Added Creationen
dc.subjectCommunity Entrepreneurshipen
dc.subjectEcotourismen
dc.subject.classificationBusinessen
dc.titleVALUE CREATION IN ECOTOURISM FOR COMMUNITY ENTREPRENEURS :KLONG PAK PID PONGPRASAS SUP-DISTRICT, BANGSAPAN, PRACHUAB KHIRI KHAN PROVINCEen
dc.titleการสร้างมูลค่าเพิ่มของผู้ประกอบการชุมชนสำหรับการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ คลองปากปิด ตำบลพงศ์ประศาสน์ อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Business Administration

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6206401011.pdf2.73 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.