Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/398
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Bodin Khotthong | en |
dc.contributor | บดินทร์ โคตรทอง | th |
dc.contributor.advisor | Tonglian Buwjoom | en |
dc.contributor.advisor | ทองเลียน บัวจูม | th |
dc.contributor.other | Maejo University. Animal Science and Technology | en |
dc.date.accessioned | 2020-12-28T02:59:58Z | - |
dc.date.available | 2020-12-28T02:59:58Z | - |
dc.date.issued | 2020 | - |
dc.identifier.uri | http://10.1.245.54/dspace/handle/123456789/398 | - |
dc.description | Master of Science (Master of Science (Animal Science)) | en |
dc.description | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สัตวศาสตร์)) | th |
dc.description.abstract | The use of Golden apple snail (Pomacea canaliculata, Lamarck) shell in layer and broiler diets was conducted in 4 experiments. Experiment 1. The study on calcium solubility of various size of Golden apple snail shell 0.50-1.00, 1.00-1.70, 1.70-2.80 and 2.80-3.35 mm. respectively. The Golden apple snail shell chemical composition and calcium solubility were observed. The results showed that calcium in the Golden apple snail shell was higher than lime stone and calcium solubility of lime stone was better than that of Golden apple snail shell. (P<0.01) Experiment 2. The study of the effects of Golden apple snail (Pomacea canaliculata, Lamarck) shell particle size in layer diet on egg production and quality was investigated in 300 laying hens (CP Brown) at 62 weeks of age for 12 weeks. The laying hens were randomly assigned to 5 experimental groups (completely randomized design; CRD), 4 replicates of 15 laying hens. Group 1, Control group in which the diet contains limestone as calcium source. Group 2, 3, 4 and 5, the diets contain various size of Golden apple snail shell (GASS) as calcium source; 0.50-1.00, 1.00-1.70, 1.70-2.80 and 2.80-3.35 mm. respectively. The results showed that the feed intakes of all the GASS groups were reduced (P<0.05). Feed conversion ratio (FCR) of all the GASS groups were better than that of control group (P<0.05) except that of group 4. Egg production had no significantly different when compared though out the experimental period. The GASS particle size has no effect on egg quality except yolk color in which that of group 3 was highest (P<0.05). Therefore, the GASS should be use as calcium source in layer diet and use for improving the yolk color. The optimal particle size of GASS for layer diet was 1.00-1.70 mm. Experiment 3. The effects of golden apple snail (Pomacea canaliculata, Lamarck) shell and lime stone ratio in layer diet on egg production and quality were investigated in 300 laying hens (CP Brown) at 24 weeks of age for 8 weeks. The laying hens were randomly assigned to 5 experimental groups (completely randomized design; CRD), 4 replicates of 15 laying hens. Group 1, Control group in which the diet contains limestone with gritstone 1:1 Group 2, the diet contains golden apple snail shell (GASS) particle size 1.00–1.70 mm. with limestone (1:1). Group 3, the diet contains GASS particle size 1.00–1.70 mm. with limestone (3:1). Group 4, the diet contains GASS particle size less than 1.00 mm. and group 5 the diet contains only GASS particle size 1.00-1.70 mm. The results showed that the feed intake and egg production had no significantly different (P>0.05) but the egg shell thickness, yolk index and yolk color were significantly different (P<0.05). The best egg quality was observed in the group 5 in which the diet contains only GASS particle size 1.00-1.70 mm. In conclusion, The GASS can be use in layer diet in all ratio without adverse effects on egg production. The using of GASS only as calcium source improved egg quality. Experiment 4. The effects of golden apple snail (Pomacea canaliculata, Lamarck) shell and lime stone ratio in broiler diet on growth performance and carcass composition. The chickens were divide into 4 groups, 4 replications of 12 one day old chicks using completely randomized design (CRD). Totally the 192 chicks were used. Group 1, Control group in which the diet contains limestone only. Group 2, the diet contains golden apple snail shell (GASS) particle size 1.00–1.70 mm. with limestone (50:50). Group 3, the diet contains GASS particle size 1.00–1.70 mm. with limestone (75:25). Group 4, the diet contains GASS particle size less than 1.00 mm. only. The growth performance was observed for 5 weeks. The carcass composition was observed at the end of the experimental period. The results showed that the body weight gain, feed intake and feed conversion ratio were not significantly different (P > 0.05). The carcass composition was not significantly different (P > 0.05) excepted that the thigh and heart of group 3 were lower than those of control (P < 0.05). Therefore, The GASS can be use in broiler diet in all ratio without adverse effects on growth performance and carcass composition excepted that using of limestone and GASS particle size less than 1.00 mm. as calcium source according to it Increase efficiency the thigh. In conclusion, the GASS can be use in layer diet in all ratio without adverse effects on egg production and egg quality. The suitable size is 1.00–1.70 mm. The GASS can be use in broiler diet in all ratio without adverse effects on growth performance and carcass composition excepted that using of limestone and GASS particle size less than 1.00 mm. as calcium source according to it Increase efficiency the thigh. The using of GASS as calcium source is the one of the choice to use the natural feed raw materials in safely or organic animal feed. | en |
dc.description.abstract | การศึกษาผลของการใช้เปลือกหอยเชอรี่เป็นแหล่งแคลเซียมในอาหารไก่ไข่และไก่เนื้อแบ่งออกเป็น 4 การทดลอง ดังนี้ การทดลองที่ 1 การศึกษาความสามารถในการละลายได้ของแคลเซียมในเปลือกหอยเชอรี่ในขนาดที่แตกต่างกัน จากการวิเคราะห์คุณค่าทางโภชนะพบว่าเปลือกหอยเชอรี่มีปริมาณแคลเซียมมากกว่าหินฝุ่น และจากการสุ่มเก็บตัวอย่างหินฝุ่นและเปลือกหอยเชอรี่ในขนาดที่แตกต่างกัน คือ เปลือกหอยเชอรี่ขนาด 0.50 – 1.00, 1.00 – 1.70, 1.70 – 2.80 และ 2.80 – 3.35 มิลลิเมตร ตามลำดับ เพื่อนำมาวิเคราะห์หาความสามารถในการละลายได้ของแคลเซียมในห้องปฏิบัติการ ผลปรากฏว่าหินฝุ่นมีการละลายได้ของแคลเซียมดีกว่าเปลือกหอยเชอรี่ในทุกกลุ่มทดลอง (P<0.01) การทดลองที่ 2 การศึกษาผลของขนาดเปลือกหอยเชอรี่ในอาหารไก่ไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ ใช้ไก่ไข่พันธุ์ ซี.พี.บราวน์ อายุ 62 สัปดาห์ จำนวน 300 ตัว โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มตลอดอย่างสมบูรณ์ (completely randomized design; CRD) แบ่งกลุ่มการทดลองออกเป็น 5 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ซ้ำ ซ้ำละ 15 ตัว โดยกลุ่มที่ 1 คือ กลุ่มควบคุมที่ใช้หินฝุ่นเป็นแหล่งแคลเซียม กลุ่มที่ 2–5 คือ กลุ่มใช้เปลือกหอยเชอรี่ที่มีขนาดแตกต่างกัน เป็นแหล่งแคลเซียม คือ ขนาด 0.50–1.00, 1.00–1.70, 1.70–2.80 และ 2.80–3.35 มิลลิเมตร ตามลำดับ เป็นเวลา 12 สัปดาห์ ปรากฏว่าปริมาณอาหารที่กินของทุกกลุ่มที่ใช้เปลือกหอยเชอรี่ลดลง (P<0.05) อัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นน้ำหนักไข่ของทุกกลุ่มที่ใช้เปลือกหอยเชอรี่ดีกว่ากลุ่มควบคุม (P<0.05) ยกเว้นในกลุ่มที่ 4 เมื่อพิจารณาตลอดการทดลอง พบว่าผลผลิตไข่ไม่มีความแตกต่างกันขนาดของเปลือกหอยเชอรี่ ไม่มีผลต่อคุณภาพไข่ ยกเว้นค่าสีของไข่แดง ที่พบว่ากลุ่มที่ 3 มีค่าสีของไข่แดงสูงสุด (P<0.05) ดังนั้น สามารถใช้เปลือกหอยเชอรี่เป็นแหล่งแคลเซียมในอาหารไก่ไข่และใช้ปรับปรุงคุณภาพสีของไข่แดง โดยขนาดอนุภาคที่เหมาะสมในการใช้อยู่ระหว่าง 1.00–1.70 มิลลิเมตร การทดลองที่ 3 การศึกษาผลของอัตราส่วนระหว่างเปลือกหอยเชอรี่และหินฝุ่นเพื่อเป็นแหล่งของแคลเซียมในอาหารไก่ไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ ใช้ไก่ไข่สายพันธุ์ ซี.พี.บราวน์ อายุ 24 สัปดาห์ จำนวน 300 ตัว โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มตลอดอย่างสมบูรณ์ (completely randomized design ; CRD) แบ่งกลุ่มการทดลองออกเป็น 5 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ซ้ำ ซ้ำละ 15 ตัว โดยกลุ่มที่ 1 คือกลุ่มควบคุมที่ให้อาหารที่ผสมหินเกร็ดร่วมกับหินฝุ่น สัดส่วน 1:1 กลุ่มที่ 2 คือกลุ่มที่ให้อาหารที่ผสมเปลือกหอยเชอรี่ขนาด 1.00–1.70 มิลลิเมตร ร่วมกับหินฝุ่น สัดส่วน 1:1 กลุ่มที่ 3 คือกลุ่มที่ให้อาหารที่ผสมเปลือกหอยเชอรี่ขนาด 1.00–1.70 มิลลิเมตร ร่วมกับหินฝุ่น สัดส่วน 3:1 กลุ่มที่ 4 คือกลุ่มที่ให้อาหารที่ผสมเปลือกหอยเชอรี่ขนาดน้อยกว่า 1.00 มิลลิเมตร และกลุ่มที่ 5 คือกลุ่มที่ให้อาหารที่ผสมเปลือกหอยเชอรี่ขนาด 1.00–1.70 มิลลิเมตรเพียงอย่างเดียวเป็นเวลา 8 สัปดาห์ ปรากฏว่าตลอดการทดลองไม่พบความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05) ของปริมาณอาหารที่กิน และผลผลิตไข่ ความหนาของเปลือกไข่ ดัชนีไข่แดง และสีของไข่แดง พบว่ามีความแตกต่างทางสถิติ (P<0.05) โดยกลุ่มที่มีคุณภาพไข่ดีที่สุดคือ กลุ่มที่ 5 ให้อาหารที่ผสมเปลือกหอยเชอรี่ขนาด 1.00–1.70 มิลลิเมตร เพียงอย่างเดียว โดยสามารถใช้เปลือกหอยเชอรี่ในอาหารไก่ไข่ได้ในทุกสัดส่วน การทดลองที่ 4 การศึกษาผลของอัตราส่วนระหว่างเปลือกหอยเชอรี่และหินฝุ่นต่อสมรรถภาพการผลิตและองค์ประกอบซากของไก่เนื้อ โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มอย่างสมบูรณ์ (CRD) ประกอบด้วย 4 กลุ่มการทดลอง แต่ละกลุ่มการทดลองแบ่งออกเป็น 4 ซ้ำ แต่ละซ้ำใช้ไก่เนื้อ จำนวน 12 ตัว รวมไก่ที่ใช้ในการทดลองทั้งหมด 192 ตัว แบ่งกลุ่มทดลองออกเป็น 4 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 กลุ่มควบคุม ให้อาหารที่ผสมหินฝุ่นเพียงอย่างเดียว กลุ่มที่ 2 ให้อาหารที่ผสมเปลือกหอยเชอรี่ขนาด 1.00–1.70 มิลลิเมตร ร่วมกับหินฝุ่น สัดส่วน 50:50 กลุ่มที่ 3 ให้อาหารที่ผสมเปลือกหอยเชอรี่ขนาด 1.00–1.70 มิลลิเมตร ร่วมกับหินฝุ่น สัดส่วน 75:25 และกลุ่มที่ 4 ให้อาหารที่ผสมเปลือกหอยเชอรี่ขนาดขนาดต่ำกว่า 1.00 มิลลิเมตรเพียงอย่างเดียว โดยเริ่มทำการทดลองตั้งแต่ไก่อายุ 1 วัน จนถึงอายุ 5 สัปดาห์ ปรากฏว่า ตลอดการทดลองไม่พบความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05) ของน้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้น ปริมาณอาหารที่กิน อัตราการเจริญเติบโต อัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นน้ำหนักตัว และไม่พบความแตกต่างขององค์ประกอบซาก ยกเว้นกลุ่มที่ 3 ที่พบว่าเปอร์เซ็นต์สะโพกและหัวใจ มีค่าต่ำกว่ากลุ่มควบคุม (P<0.05) ดังนั้น สามารถใช้เปลือกหอยเชอรี่ทดแทนหินฝุ่นได้ทุกสัดส่วน โดยไม่มีผลกระทบต่อสมรรถภาพการเจริญเติบโต ยกเว้น การใช้หินฝุ่นและเปลือกหอยเชอรี่ที่มีขนาดต่ำกว่า 1 มิลลิเมตร มีผลทำให้เปอร์เซ็นต์สะโพกเพิ่มขึ้น จากการทดลองทั้งหมดแสดงให้เห็นว่าเปลือกหอยเชอรี่ สามารถใช้ในอาหารไก่ไข่ได้ทุกสัดส่วนโดยไม่มีผลกระทบต่อผลผลิตและคุณภาพไข่ ขนาดของเปลือกหอยเชอรี่ที่เหมาะสมต่อการนำไปใช้ประโยชน์ คือ 1.00-1.70 มิลลิเมตร และเปลือกหอยเชอรี่ยังสามารถนำมาใช้ในอาหารไก่เนื้อได้ทุกสัดส่วน โดยไม่ส่งผลกระทบต่อสมรรถภาพการเจริญเติบโต และองค์ประกอบซาก ยกเว้น การใช้หินฝุ่นและเปลือกหอยเชอรี่ที่มีขนาดต่ำกว่า 1 มิลลิเมตร มีผลทำให้เปอร์เซ็นต์สะโพกเพิ่มขึ้น ดังนั้นสามารถใช้เปลือกหอยเชอรี่ เป็นแหล่งแคลเซียมและเป็นอีกหนึ่งทางเลือกในการนำวัตถุดิบที่มีในธรรมชาติมาใช้ในอาหารสัตว์แบบปลอดภัย หรืออาหารสัตว์แบบอินทรีย์ | th |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | Maejo University | - |
dc.rights | Maejo University | - |
dc.subject | เปลือกหอยเชอรี่ | th |
dc.subject | ไก่ไข่ | th |
dc.subject | ไก่เนื้อ | th |
dc.subject | ผลผลิตไข่ | th |
dc.subject | คุณภาพไข่ | th |
dc.subject | Golden apple snail shell | en |
dc.subject | Laying hen | en |
dc.subject | Broiler | en |
dc.subject | Egg production | en |
dc.subject | Egg quality | en |
dc.subject.classification | Veterinary | en |
dc.title | THE USING OF GOLDEN APPLE SNAIL (Pomacea canaliculata, Lamarck) SHELL AS CALCIUM SOURCE IN LAYING HENS AND BROILER DIETS | en |
dc.title | การใช้เปลือกหอยเชอรี่ในอาหารไก่ไข่และไก่เนื้อ | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | Animal Science and Technology |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6022301007.pdf | 7.81 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.