Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/378
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorThep Paulamin Phongparnichen
dc.contributorเทพ ปรมินทร์ พงษ์พานิชth
dc.contributor.advisorPrayong Kusirisinen
dc.contributor.advisorประยงค์ คูศิริสินth
dc.contributor.otherMaejo University. School of Tourism Developmenten
dc.date.accessioned2020-12-28T02:37:02Z-
dc.date.available2020-12-28T02:37:02Z-
dc.date.issued2020-
dc.identifier.urihttp://10.1.245.54/dspace/handle/123456789/378-
dc.descriptionMaster of Arts (Master of Arts (Tourism Development))en
dc.descriptionศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาการท่องเที่ยว))th
dc.description.abstractThis study was conducted in order to inverstigate : 1) the context of community tourism in Ban Klang Luang; 2) community participation on tourism management; and 3) the carrying capacity of tourism by the community. In this study, interviews was used to collect quantitative data for objective #2 while the ability assessment scale was used for objective #3 with data gathered from the village headmen, tourism committee of Ban Mae Klang Luang district and household representatives. Quantitative data analysis was conducted by using descriptive statistics  Results showed that in 2018, tourism sites in Ban Mae Klang community were famous and were well accepted by both local and foreign tourists who came to see the beauty of the village and experience its local traditions. Moreover, it was found that most foreign tourists preferred homestay in the village. Visitors were provided education on tourism by the village committee that also promoted training for knowledge and improved their ability to be a leader or a local guide. Thus it allowed the community to generate incomes from tourism aside from villagers working in agriculture and as hired casual labors. In general, it allowed the community to gain benefits from tourism while forming tourism groups and increasing the number of the members. Ban Mae Klang Luang had 17 homestay accommodations, 11 resort houses run by community-based tourism sites, and 63 resort houses run by private companies. On commercial products and services, there were 3 shops in the village that sold fresh roasted coffee beans with unique coffee flavor particularly cultivated by the villager groups. In addition, the village also sold fabrics women by the group of village housewives. The village also had 2 natural trekking routes: Pha Dok Siw waterfalls and Doi Hua Suea having villagers serving as local guides. Also, it was found that maximum carrying capacity without people in community congestion was 60 tourists per visit.  en
dc.description.abstractการศึกษาเรื่อง ขีดความสามารถในการรองรับของแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชน ในชุมชนบ้านแม่กลางหลวงอำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาบริบทด้านการท่องเที่ยวของชุมชนบ้านแม่กลางหลวง 2) ศึกษาการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการท่องเที่ยว 3) ศึกษาขีดความสามารถในการรองรับ (carrying capacity) ของแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านแม่กลางหลวง โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลเชิงปริมาณในวัตถุประสงค์ที่ 2 และใช้แบบประเมินขีดความสามารถในการรองรับในการเก็บข้อมูลในวัตถุประสงค์ที่ 3 จากผู้นำชุมชน คณะกรรมการกลุ่มการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านแม่กลางหลวง และตัวแทนครัวเรือนในหมู่บ้านจำนวนทั้งสิ้น 73 ครัวเรือน โดยวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยการใช้สถิติเชิงพรรณนา (descriptive statistics)  ผลการวิจัยพบว่า ในปี พ.ศ. 2561 บริบทพื้นที่การท่องเที่ยวในชุมชนบ้านแม่กลางหลวงเป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย ได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีจากนักท่องเที่ยวชาวไทย และชาวต่างชาติที่เข้ามาชมความสวยงามของหมู่บ้าน และวัฒนธรรม โดยส่วนใหญ่พบว่านักท่องเที่ยวที่นิยมพักค้างคืนเป็นชาวต่างชาติที่นิยมการพักในรูปแบบโฮมสเตย์ (homestay) มีการส่งเสริมการท่องเที่ยว โดยการให้ความรู้แก่คนในชุมชนผ่านสมาชิกกลุ่มการท่องเที่ยว ส่งเสริมการอบรมให้มีความรู้และความสามารถในการเป็นผู้สื่อความหมายหรือไกด์ท้องถิ่น ทำให้ชุมชนมีอาชีพเสริมจากการท่องเที่ยวนอกเหนือจากการประกอบอาชีพเกษตรกรและการรับจ้างทั่วไป ทำให้ชุมชนได้รับผลประโยชน์จากการท่องเที่ยว เกิดการรวมกลุ่มการท่องเที่ยวและขยายฐานสมาชิกเพิ่มมากขึ้นทำให้ชุมชนบ้านแม่กลางหลวงมีที่พักในรูปแบบโฮมสเตย์ 17 หลัง รีสอร์ทโดยชุมชน 11 หลัง รีสอร์ทโดยเอกชน 63 หลัง ในส่วนของสินค้าและการบริการมีร้านกาแฟจำหน่ายเมล็ดกาแฟคั่วสด และบริการกาแฟรสชาติเฉพาะที่ปลูกโดยชาวชุมชนบ้านแม่กลางหลวง 3 ร้าน สินค้าผ้าทอจากฝีมือกลุ่มแม่บ้านในชุมชนบ้านแม่กลางหลวง พร้อมกับเส้นทางศึกษาธรรมชาติ 2 เส้นทาง คือ น้ำตกผาดอกเสี้ยว และดอยหัวเสือโดยการนำทางของไกด์ท้องถิ่นในชุมชนบ้านแม่กลางหลวง การวิเคราะห์ขีดความสามารถในการรองรับ (carrying capacity) ของแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านแม่กลางหลวง ผลการศึกษาพบว่าขีดความสามารถในการรองรับสูงสุดของบ้านแม่กลางหลวง สามารถรองรับนักท่องเที่ยวได้โดยไม่ทำให้คนในชุมชนบ้านแม่กลางหลวงเกิดความแออัดจำนวน 60 คนต่อช่วงเวลาth
dc.language.isoth-
dc.publisherMaejo University-
dc.rightsMaejo University-
dc.subjectชุมชนบ้านแม่กลางหลวง, ขีดความสามารถในการรองรับ, แหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชนth
dc.subjectBan Mae Klang Luang‚ community carrying capacity‚ community–based tourism sitesen
dc.subject.classificationBusinessen
dc.titleCARRYING CAPACITY OF COMMUNITY ATTRACTIONS IN MAE KLANG LUANG COMMUNITY, CHOM THONG DISTRICT, CHIANG MAI PROVINCEen
dc.titleขีดความสามารถในการรองรับของแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชน  ในชุมชน แม่กลางหลวง อำเภอจอมทอง  จังหวัดเชียงใหม่th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:School of Tourism Development

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5909302002.pdf1.48 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.