Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/2203
Title: THE QUALITY OF WORK LIFE AFFECTING WORK EFFICIENCY OF GOVERNMENT OFFICERS IN THE AREA OF CHIANG MAI PROVINCIAL COURT
คุณภาพชีวิตการทำงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงาน ของบุคลากรศาลยุติธรรมในจังหวัดเชียงใหม่
Authors: Korrawan Panya
กรวรรณ ปัญญา
Kunpatsawee Klomthongjaroen
กัญญ์พัสวี กล่อมธงเจริญ
Maejo University
Kunpatsawee Klomthongjaroen
กัญญ์พัสวี กล่อมธงเจริญ
pranee-k@mju.ac.th
pranee-k@mju.ac.th
Keywords: คุณภาพชีวิตการทำงาน
ประสิทธิภาพการทำงาน
Quality of Work Life
Work Efficiency
Issue Date: 2024
Publisher: Maejo University
Abstract: This research aims to study the impact of the quality of work life on the work efficiency of judicial personnel in Chiang Mai Province. The sample group used in this study consisted of 380 judicial personnel in Chiang Mai Province. The tool used for data collection was a questionnaire regarding the quality of work life and work efficiency of the judicial personnel in Chiang Mai Province. Data analysis utilized descriptive statistics, including frequency, percentage, arithmetic mean, and standard deviation. Inferential statistics used for data analysis included t-tests, one-way ANOVA, Pearson's product-moment correlation coefficient, and multiple regression analysis. The research findings revealed that differing personal factors did not result in differing work efficiency. The overall quality of work life of judicial personnel in Chiang Mai Province was found to be at a high level, and the overall work efficiency of judicial personnel in Chiang Mai Province was found to be at the highest level.       Hypothesis testing results indicated that different personal factors did not affect the work efficiency of judicial personnel in Chiang Mai Province. However, the quality of work life did impact the work efficiency of judicial personnel in Chiang Mai Province.
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตการทำงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพ การทำงานของบุคลากรศาลยุติธรรมในจังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาเป็นบุคลากรศาลยุติธรรมในจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 380 ตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตในการทำงานและประสิทธิภาพการทำงานของบุคลากร ศาลจังหวัดเชียงใหม่ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงบรรยาย (Descriptive Statistics) ได้แก่ ความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percent) ค่าเฉลี่ย (Arithmetic Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลที่ใช้สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) ได้แก่ การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มตัวอย่าง (t-test, One Way ANOVA) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson’s Product-Moment Correlation Coefficient) และ การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัย ส่วนบุคคลที่แตกต่างกันมีประสิทธิภาพการทำงานไม่ต่างกัน โดยมีระดับคุณภาพชีวิตในการทำงานของบุคลากรศาลยุติธรรมในจังหวัดเชียงใหม่ ภาพรวมอยู่ในระดับมาก และมีระดับประสิทธิภาพ การทำงานของบุคลากรศาลยุติธรรมในจังหวัดเชียงใหม่ ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ผลการทดสอบสมมติฐาน ปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกันไม่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานของบุคลากรศาลยุติธรรมในจังหวัดเชียงใหม่ คุณภาพชีวิตในการทำงานส่งผลต่อประสิทธิภาพ การทำงานของบุคลากรศาลยุติธรรมในจังหวัดเชียงใหม่
URI: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/2203
Appears in Collections:Business Administration

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6506401006.pdf1.8 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.