Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/2153
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorขนิษฐา โสภานนท์, kanitha-sopanon-
dc.date.accessioned2024-06-17T09:06:57Z-
dc.date.available2024-06-17T09:06:57Z-
dc.date.issued1995-
dc.identifier.urihttp://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/2153-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ลักษณะส่วนบุคคล เศรษฐกิจและสังคม ของข้าราชการครูวิทยาลัยเกษครกรรมกลุ่มภาคเหนือ (2) ความพึงพอใจของข้าราชการครูที่มีต่อการบริหารงานของผู้บริหารวิทยาลัยเกษตรกรรม กลุ่มภาคเหนือ (3) ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงการบริหารงานของผู้บริหารในทรรศนะของข้าราชการครูวิทยาลัยเกษครกรรม กลุ่มกาลเหนือ ผู้ให้อมูลในการวิจัยครั้งนี้คือข้าราชการครูวิทยาลัยเกษตรกรรม กลุ่มภาคเหนือ ที่ได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบจำนวน 135 คน การรวบรวมข้อมูลกระทำโดยใช้แบบสอบถามข้าราชการครูวิทยาลัยเกษตรกรรม กลุ่มภาคเหนือข้อมูลวิเคราะห์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยใช้โปรแกรมสถิติสำเร็จรูปเพื่อการวิจัยทางสังคมศาสตร์ผลการวิจัยพบว่า ข้าราชการครูวิทยาลัย เ กษตรกรรม กลุ่มภาคเหนือ มีอายุเฉลี่ย 36 ปี ส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับปริญาตรี สมรสแล้ว มีอายุราชการเฉลี่ย 11 ปี และมีรายได้เฉลี่ย 155,801 บาทต่อปีสำหรับความพึงพอใจของข้าราชการครูที่มีต่อการบริหารงานของผู้บริหารวิทยาลัยเกษตรกรรม กล่มภาคเหนือ ผลการวิจัยพบว่าข้าราชการครูวิทยาลัยเกษตรกรรมมีความพึงพอใจต่อการบริหารงานในด้านต่าง ๆ เวียงลำดับจากมากไปหาน้อย คือด้านการประสานงาน ด้านการนิเทศงาน ด้านการจัดงบประมาณ ด้านการมอบหมายงาน ด้านการวางแผน และด้านการควบคุมงาน ส่วนผลการวิจัยที่พบว่าข้าราชการครูไม่พึงพอใจต่อการบริหารงาน คือการบริหารงานด้านการประ เมินผล และการบริหารงานด้านการจัดคนเข้าทำงาน แต่เมื่อพิจารณาในภาพรวมโดยพิจารมาจากค่าคะแนนเฉลี่ยพบว่าข้าราชการครู มีความพึงพอใจในการบริหารงานของผู้บริหารวิทยาลัยเกษตรกรรมทั้ง 8 ด้าน แต่เป็นความพึงพอใจในระดับที่ค่อนข้างต่ำ (คะแนนเฉลี่ย 1.55) สำหรับประ เด็นข้อ เสนอแนะในการปรับปรุงการบริหารงานของผู้บริหาร ในทรรศนะของข้าราชการครู มีดังนี้ 1) ด้านการวางแผน ควรกำหนดเป้าหมายการปฏิบัติงานให้เป็นรูปธรรม โดยให้ครูอาจารย์ได้มีส่วนร่วมเพื่อให้สอดคล้องกับทวันยากวที่มีอยู่ มีข้อเสนอแนะว่า ควรปรับปรุงความเ ข้าใจระหว่างกัน ควรให้มีการใช้ระบบสารสนเทศ 2) ด้านการจัดคนเข้าทำงานผู้บริหารควรจัดให้เหมาะสมกับปริมาณเละคุณภาพของบุคลากรในวิทยาลัย 3) ด้านการควบคุมงาน ผู้บริหารควรกระทำอย่างสม่ำเสมอ ต่อเนื่องและกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงาน ภาระงานอย่างชัดเจน4) ด้านการมอบหมายงาน ผู้บวิหารควรพิจารณาความรู้ ความสามารถของบุคคลเป็นหลัก ทั้งควรมอบการตัดสินใจให้แก่ผู้รับมอหมายนั้น 5) ด้านการประสานงานนั้น ผู้บริหารควรประสานทั้งภายในและภายนอกวิทยาลัย 6) ด้านการนิเทศงาน ผู้บริหารควรมีการนิเทศเป็นระยะ ๆ มีการจัฒนาบุคลากรในรูปแบบต่าง ๆ 7) ด้านการจัดงบประมาณ ผู้บริหารควรจัดสรรดามความต้องการและความจำเป็นของงาน หากไม่ได้ดังปรารถนา ก็มีคำอธิบายให้เข้าใจได้ชัดแจ้ง และคอยควบคุมการใช้งบประมาณให้ถูกต้องเป็นไปตามแผนที่วางไว้ 8) ด้านการประเมินผล ผู้บริหารควรกำหนดเกณฑ์การประเมินที่ชัดเจนอย่างมีระบบ"en_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยแม่โจ้en_US
dc.subjectความพึงพอใจen_US
dc.subjectข้าราชการครูen_US
dc.subjectการบริหารงานen_US
dc.titleความพึงพอใจของข้าราชการครูที่มีต่อการบริหารงานของผู้บริหารวิทยาลัยเกษตรกรรม กลุ่มภาคเหนือ สังกัดกรมอาชีวศึกษาen_US
dc.title.alternativeTeachers' satisfaction with management of direction of agricultural colleges in northern region, Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Economics

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
kanitha-sopanon.PDF2.08 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.