Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/2111
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวรรณวิภา คิดดี, wanvipa kiddee-
dc.date.accessioned2024-04-25T07:40:27Z-
dc.date.available2024-04-25T07:40:27Z-
dc.date.issued2000-
dc.identifier.urihttp://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/2111-
dc.description.abstractการวิจัยกรั้งนี้มีวัตถุประสงก์เพื่อศึกษาสภาพทั่วไปของการผลิตข้าวฟางในประเทศไทย และเพื่อศึกษาถึงการตอบสนองของอุปทานข้าวฟ่างในประเทศไทยผลการวิจัยพบว่า ข้าวฟ่างเป็นพืชเศรษฐกิจที่เพิ่มความสำคัญขึ้นทุกขณะ ส่วนใหญ่มีแหล่งผลิตอยู่ในจังหวัดนครสวรรค์ เพชรบูรณ์ ลพบุรี และสระบุรี โครงสร้างการตลาดมีผู้ประกอบการ 3 กลุ่มใหญ่ คือ พ่อค้าคนกลาง ซึ่งได้แก่ พ่อค้ารวบรวมท้องที่และพ่อค้ารวบรวมท้องถิ่น 2. สถาบันเกษตรกรซึ่งก็คือสหกรณ์การเกษตร 3. พ่อค้าส่งออกเกษตรกรเก็บเกี่ยว และสีเมลีดข้าวฟ่างเพื่อขายให้แก่พ่อค้าท้องที่ พ่อค้าท้องถิ่นและสหกรณ์การเกษตรร้อยละ 21.41 89.75 และ 4.23 ตามลำดับพ่อค้าส่งออก หยงกรุงเทพฯ พ่อค้าท้องที่ขายข้าวฟ่างให้แก่โรงงานอาหารสัตว์หยงอำเภอท่าเรือ จังหวัดอยุธยา และพ่อค้าท้องถิ่นร้อยละ 343 4.20 0.94 26 11.59 ตามลำดับ พ่อค้าท้องถิ่นรับซื้อเมล็ดข้าวฟ้างจากเกษตรกรร้อยละ 89.75 แล้วขายให้แก่โรงงานอาหารสัตว์ หยงกรุงเทพฯ หยงอำเภอท่าเรื่อ จังหวัดอยุธยา และพ่อค้าส่งออกร้อยละ 17.88 12.30 9.43 และ 50.14 ตามลำดับ สถาบันเกษตรกรซึ่งได้แก่ สหกรณ์การเกษตร รับซื้อเมล็ดข้าวฟ่างจากเกษตรกรแล้ว ขายให้แก่พ่อค้าท้องถิ่น และพ่อค้าส่งออก ร้อยละ 3.81 และ 0.42 ตามลำดับส่วนหยงกรุงเทพฯ รับซื้อจากพ่อค้าท้องที่ และพ่อค้าท้องถิ่น แล้วจะขายให้แก่โรงงานอาหารสัตว์ พ่อค้าส่งออกร้อยละ 2.5 และ 10.74 ตามลำดับ สำหรับหยงอำเภอท่าเรือจังหวัดอยุธขา รับซื้อจากพ่อค้าท้องที่ และพ่อค้ท้องถิ่น เช่นเดียวกันก็จะขายให้แก่พ่อค้าส่งออก ร้อยละ 10.69 ผลจากการวิเคราะห์การตอบสนองอุปทานข้าวฟ่างในประเทศไทย ตามแบบจำลอง Linear พบว่า ปริมาณอุปทานข้าวฟ่างมีความสัมพันธ์กับตัวแปรอิสระที่กำหนดไว้ คือ พื้นที่เพาะปลูกข้าวฟ่างทั้งหมดในปีที่ผ่านมา (A..) ราคาข้าวฟ้างที่เกษตรกรได้รับในปีที่ผ่านมา (PS.) ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรได้รับในปีที่ผ่านมา (PM.) ราคาถั่วเหลืองที่เกษตรกรได้รับในปีที่ผ่านมา(PSB ) สมการอุปทานข้าวฟ้าง มีค่า R Square เท่ากับ 0.749 ซึ่งแสดงถึงผลกระทบของปัจจัย ข้างต้นที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของอุปทานข้าวฟ้าง ร้อยละ 74.90 ส่วนที่เหลืออีกร้อยละ 25.10 เป็นอิทธิพลที่เกิดจากปัจจัขอื่น ๆ ที่มิได้ระบุไว้ในสมการ โดยแต่ละตัวแปรมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 99 และ 95en_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยแม่โจ้en_US
dc.subjectแง่เศรษฐกิจen_US
dc.subjectข้าวฟ่างen_US
dc.titleการวิเคราะห์การตอบสนองอุปทานข้าวฟ่างในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeSupply response analysis of sorghum in Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Economics

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
wanvipa-kiddee.PDF1.57 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.