Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/2103
Title: โครงสร้างและกระบวนการตลาดเมล็ดพันธุ์ผักในเขตจังหวัดเชียงใหม่
Other Titles: The structure and process of vegetable seeds markting in Chiang Mai province
Authors: ละไม ยะปะนัน, lamai yapanan
Keywords: ผัก
เมล็ดพันธุ์
เชียงใหม่
การตลาด
Issue Date: 2001
Publisher: มหาวิทยาลัยแม่โจ้
Abstract: การศึกษาโครงสร้างและกระบวนการตลาดเมล็ดพันธุ์ผักในเขตจังหวัดเชียงใหม่ มีวัดถุประสงค์เพื่อศึกษาโครงสร้างและกระบวนการตถาดเมล็ดพันธุ์ผักในจังหวัดเชียงใหม่และเพื่อวิเคราะห์ประสิทธิภาพของตลาดเมล็ดพันธุ์ผัก ซึ่งสามารถนำมาใช้เป็นแนวทางสำหรับการพัฒมาปรับปรุงโครงสร้าง และกระบวนการตถาดเมล็ดพันธุ์ผักในจังหวัดเชียงใหม่วิธีการศึกษาใช้วิธีการเคราะห์เชิงปริมาณในส่วนของโครงสร้างตลาด โดยใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์การกระจุกตัวของตลาด คือ Concentration Ratio (CR) และHerindahl Summary Index (HSI) โดขวัดจากขนาคของธุรกิจเมล็ดพันธุ์ผักในจังหวัดเชียงใหม่ผลการศึกษาค้านโครงสร้างตลาด พบว่า ร้านค้าจำหน่ายเมล็ดพันธุ์ผักในจังหวัดเชียงใหม่ส่วนใหญ่จำหน่ายมล็คพันธุ์ผักประเภทผมเปิด โคยรับเมล็ดพันธุ์ผักมาจากพ่อค้าส่ง และนำไปจำหน่ายให้แก่เกษตรกรโดยตรง และเมื่อศึกษาการกระกตัวของร้านก้าผู้จำหน่ายเมล็ดพันธุ์ผักในจังหวัดเชียงใหม่โดยใช้ค่า Concentration Ratio (CR) พบว่า ร้านค้ำาผู้จำหน่ายเมล็คพันธุ์ผักในจังหวัดเชียงใหม่เกือบทุกอำเภอมีการกระจุกตัวสูง ซึ่งเป็นลักษณะของตลาดผูกขาด ยกเว้นอำเภอเมือง และอำเคอจอมทองที่มีการกระจุกตัวในระดับปานกลาง ซึ่งเป็นลักษณะผู้ขายน้อยรายที่สอดคล้องกับผลการศึกษาด้วยการใช้คำ Herfindahl Summary Index (HSI) ที่พบว่า ร้านค้ผู้จำหน่ายเมล็ดพันธุ์ผักในจังหวัดเรืองใหม่อยู่ในตลาดแบบผูกขาดและผู้ขายน้อยราชที่มีการแข่งขันกันนั้อย ดังนั้นผู้จำหนำยผล็ตพันธุ์หักจึงใช้ทคนิดการตลาดที่ทำให้เมล็คพันธุ์ผักมีความแตกต่างในเรื่องของตัวสินค้าและบริการ เพื่อสามารถกำหนดราคามลีดพันธุ์ผักให้แดกต่างกันได้ งากการศึกพาพบว่า ด้านคุณภาพและลักขณะของเมล็ดพันธุ์ผักนั้น พ่อคำปลึกจะตัดสินใจรับเมลีดพันธุ์ผักมาจำหน่ายไตยพิจารณาจาก ชื่อเสียงของบริษัทวัพถิต ลักพณะของสายพันก็ คุณภาพของมลี่คพันก็ และความต้องการของลูกค้ ส่วนความแตกต่างในเรื่องเครื่องหมายการคำพบว่ามีมาก เมด็ดพันธุ์ตักแต่ละเครื่องหมายการค้จะเป็นที่นิยมใพเฉพาะท้องที่หนึ่ง ๆ จึงทำไห้บริษัทยี่แข่งแก่งแย่งส่วนแปงทางการตลาดได้ยาก ซึ่งบริษัทมลีดพันธุ์ส่วนใหญ่มักใช้วิชีการทำแปลงสาชิตให้เกษตรกรในการเพิ่มทางการตลาด แม้ว่าจะต้องเสียเวลและคำใช้ง่ายก่อนข้างสูงก็ตาม ในท้องที่ที่มีบริษัทเมล็ดพันธุ์ผักแข่งขันกันส่งเสริมการขายอย่างมาก เกษตรกรจะมีความรู้เกี่ยวกับเมล็ดพันธุ์ผักที่ใช้เป็นอย่างดีผลการศึกษาส่วนเหลื่อมทางการตลาด พบว่า ส่วนเหลื่อมทางการตลาดเมล็คพันธุ์ผักของจังหวัดเชียงใหม่มีประมาณ 3265% โคยระทว่างบริษัทกับพ่อคำส่งมากที่สุดประมาณ 11.81% ระหว่างพ่อค้าขายส่งกับพ่อค้าขายปลีกในแต่ละอำเภอประมาณ 9.47% ระหว่างพ่อค้าปลึกในแต่ละ อำเภอกับผู้บริโภค 7.95% และระหว่างพ่อค้าปลึกในแต่ละอำเภอกับพ่อค้ผักสดในท้องถิ่น 3.42 % สำหรับพฤติกรรมตลาคของอุตสาหกรรมเมล็คพันธุ์ผักในเชียงใหม่มีลักษณะตลาดแบบผูกขาดและแบบผู้ขายน้อยราย ดังนั้นบริษัทผู้ผลิตเมล็คพันธุ์ผักจึงเป็นผู้กำหนดราคา แด่บางครั้งพ่อค้ส่งในจังหวัดเชียงใหม่จะนำมากำหนดเองอีกครั้ง ไดยพิจารณาจากดันทุนที่ซื้อมาความต้องการของถูกค้ และราคาของร้นคำข้างเตียง ดังนั้นบริษัพมล็ดพันธุ์ผักจะด้องเน้นเรื่องคุณภาพและสายพันธุ์ของมล็ดพันธุ์ ราคาของเมล็ดพันธุ์ การบริการของบริษัทเมล็คพันข์ ความได้เปรียบทางค้านเทคนิด ส่วนร้านค้าปลึกที่จำหน่ายเมล็ดพันธุ์ผักจะมีเทตนิคค้านการให้คำปรึกษาข้อมูลค้านโรดและแมลงศัตรูพืช การถคราคาสินค้า และการแถมสินค้า เป็นบริการที่ให้แก่ลูกค้ จากการศึกษาครั้งนี้จึงมีข้อเสนอแนะดังนี้ 1) ภาครัฐวรสนับสนุนให้มีวิจัยกันคว้าปรับปรุงพันธุ์เมล็คพันธุ์ผักให้มากขึ้น เพื่อพัฒนาเมลีดพันธุ์ผักให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น 2) รัฐบาลควรมีการคาดการถ่วงหน้าเกี่ยวกับปริมาณเมล็ดพันธุ์ผักที่จะใช้ไนปีต่อไปและมีการนำเข้ามากขึ้นเพื่อเพิ่มการแข่งขันในตถาคเมล็ค่พันธุ์ ซึ่งจะเป็นการช่วยให้ราตาเมล็คพันก็ไม่เพิ่มขึ้น ซึ่งจะเป็นผลดีต่อเกษตรกรผู้ปลูกผัก และ 3) รัฐควรเข้ามาควบคุมและกำหนดคุณภาพเละมาครฐานของเมล็ดพันธุ์ผักที่จำหน่ายให้กับเกษตรกรและตวรมีการนำ พ.ร.บ.ควบคุมเมด็ดพัน:ไปปฏิบัติอย่างจริงจัง"
URI: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/2103
Appears in Collections:Economics

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
lamai-yapanan.PDF1.73 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.