Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/2073
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสักรันต์ วรินทร์-
dc.date.accessioned2024-04-09T04:46:09Z-
dc.date.available2024-04-09T04:46:09Z-
dc.date.issued1982-
dc.identifier.urihttp://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/2073-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อทราบถึง 1) ลักษณะส่วนบุคคล ลักษณะของการทำการเกษตร การรับรู้ข่าวสารและระดับการรับรู้เทคโนโลยีในการทำสวนลิ้นจี่ระดับการใช้เทคโนโลยีในการทำสวนลิ้นจี่ 3) ปัจจัยที่มีผลต่อระดับการใช้เทคโนโลยีในการทำสวนลิ้นจี่ และ 4) ปัญหาและอุปสรรดในการใช้เทคโนโลยีในการทำสวนลิ้นจี่ของเกษตรกรในอำเภอฝางและอำเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้แบบสัมภาษณ์เก็บข้อมูลจากเกษดรกรผู้ปลูกลิ้นจี่ที่ได้จากลุ่มตัวอย่างในเขตอำเภอฝาง 103 คน และอำเภอแม่อาย 48 คน รวม 151 คน นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ด้วยเครื่องไมโครคอมหิวเตอร์ใช้โดยโปรแกรมสำเร็จรูป เพื่อการวิจัยทางสังคมศาสตร์ผลการศึกษาพบว่าผู้ให้ข้อมูลมีอายุเฉลี่ย 49 ปี จบการศึกษาในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยมีประสบการณ์ในการทำสวนลิ้นจี่ เฉลี่ย 13.67 ปี มีรายได้เฉลี่ย 107,662.58 บาทต่อปี แรงงานในครอบครัวเฉลี่ย ประมาณ 2 คน พื้นที่ปลูกลิ้นจี่เฉลี่ย 15.08 ไร่ พื้นที่ทำการเกษตรเฉลี่ย 31.87 ไร่ แหล่งสินเชื่อที่ผู้ให้ข้อมูลใช้มากที่สุด ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรเงินทุนในการนำไปลงทุนทำสวนลิ้นจี่เฉลี่ย46 , 626.60 บาท ต่อ ครอบครัว ต่อปีคือผู้ให้ข้อมูลประมาณครึ่งหนึ่งเคยเข้ารับการอบรมเรื่องการปลูกลิ้นวี่ ได้รับข่าวสารจากการจัดนิทรรศการนจี่ งานเทศกาลิ้นจี่ และงานวันสาธิต ร้อยละ 88.80,68.67 และ 86.23 ตามลำดับ สำหรับการรับรู้เทคโนโลยีต่าง ๆ ในการทำสวนลิ้นจี้นั้นผู้ให้ข้อมูล มีการรับรู้ในระดับมาก โดยเฉพาะเทคโนโลยีที่เกี่ยวกับ การใช้พันธ์ ระยะปลูกการใช้ปุ๋ย การป้องกันกำจัดโรคและแมลงโดยการใช้สารเคมี และการตัดแต่งกิ่ง วิธีการเพื่อทำให้ลิ้นจี่ออกดอก การงดให้น้ำ การให้น้ำลิ้นจี่ ส่วนเทคโนโสอีการทำสวนลิ้นวี่ที่มีการรับรู้ในระดับน้อยคือ การเตรียมดินปลูกลิ้นจี่และการเร่งสีนิวของผลลิ้นจี่ในด้านการใช้เทคโนโลยีในการทำสวนนั้น ไม่ว่าจะเป็นการใช้เทคโนโลยีในระยะ เร็มแรก ระยะให้ผลผลิตแล้ว และระยะภายหลังการเก็บเกี่ยวก็ตาม เกษตรกรมีการใช้เทคโนโลโยีระยะต่าง 1 ในระดับปานกลางเหมือนกันโดยมีการใช้เทคโนโลยีในระยะต่าง ๆ ดังนี้ 1) เทดโนโลยีระยะเริ่มเรกที่เกษตรกรใช้ ในระดับมากระดับมากได้แก่การใช้พันธุ์ การใส่ปุ๋ย การให้น้ำ การตัดแต่งก็ง และการป้องกันกำจัดโรคและแมลงสำหรับการเตรือมดินตามหลักวิชาการนั้นมีการทำน้อย 2) เทคโนโลยีระยะสั้นทำให้ผลิตแล้ว ที่เกษตรกรใช้ระดับมาก ได้แก่ การงดการให้น้ำ เทคโนโลยีที่ใช้ในระดับปานกลาง ได้แก่ การใส่ปุ๋ยเคมี การป้องกันกำจัดโรคและแมลง การตัดแต่งกิ่งลิ้นจี่ สำหรับวิธีการทำให้ลิ้นจี่ออกดอก การเร่งสีผิวของผลลิ้นจี่ การให้น้ำ มีการใช้ในระดับน้อย แต่การงดให้น้ำลิ้นจี่ ผู้ให้ข้อมูลระบุอยู่ในระดับมาก 3) เทคโนโสย์ในระยะภายหลังการเก็บเกี่ยวที่เกษตรกรมีการใช้ในระดับน้อยในเรื่องการข้องกันภัยธรรมชาติ จากไฟป่าและการแตกใบอ่อนเนื่องจากฝนดก ส่วนการบำรุงรักษาลิ้นฉี่ภายหลังการเก็บเกี่ยว และการป้องกันภัยธรรมชาติจากลม มีการใช้อยู่ในระดับปานกลาง ปัจจัยที่มีผลต่อระดับการใช้เทคโนโลยีของ เกษดรกรผู้ทำสวนลิ้นจี่ได้แก่ รายได้เนื้อที่ปลูกลิ้นจี่ เงินลงทุน การอบรม นิทรรศการการเกษดร การเข้าเยื่อมชมงานเทศกาลลิ้นจี่ การเยี่ยมชมงานวันสาธิต และการรับรู้เทคโน โลยีในการทำสวนลิ้นจี่ สำหรับปัญหาเกี่ยวกับ การใช้เทคโนโลยีในการทำสวนลิ้นจี่ที่เกษตรกรพบมากที่สุดคือ ปัญหาในด้านขาดแคลนแรงงาน การฝึกอบรม เทศกาลต่าง " มักตรงกับการเก็บเกี่ยวผลผลิตลิ้นจี่ ทำให้เกษตรกรไม่ได้เข้าร่วมรับข่าวสารเท่าที่ควร รวมทั้งปัญหาจากปุ๋ยและสารเคมี มีราคาแพง และปัญหาในด้านการตลาดที่ราคาของลิ้นจี่มีราคาตกต่ำ"en_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยแม่โจ้en_US
dc.subjectลิ้นจี่en_US
dc.subjectเกษดรกรen_US
dc.subjectสวนลิ้นจี่en_US
dc.subjectการส่งเสริมการเกษตรen_US
dc.subjectเชียงไหม่en_US
dc.subjectเกษตรกรรมen_US
dc.subjectเทคโนโลยีที่เหมาะสมen_US
dc.subjectสวนผลไม้en_US
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการใช้เทคโนโลยีของเกษตรกรผู้ปลูกลิ้นจี่ในเขตพื้นที่อำเภอฝาง และอำเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeFactors affecting tecinology application of litchi grower in Fang and Mai-Ai districts, Chiangmai province, Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Agricultural Production

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sakaran-varin.PDF2.66 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.