Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/2048
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพิชิต ปิยะโชติ-
dc.date.accessioned2024-04-04T07:14:36Z-
dc.date.available2024-04-04T07:14:36Z-
dc.date.issued2000-
dc.identifier.urihttp://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/2048-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้จากสไลด์มัลติวิชั่น เรื่องการป้องกันไฟป่ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 2) เพื่อประเมินสื่อสไลด์มัลติวิชั่นสำหรับการนำไปใช้ในการรณรงค์ป้องกันไฟป่าการวิจัยใช้การทดลองแบบกึ่งทดลอง (quasi experimental design) โดยวิธีRandomized Pretest-Posttest Design มีกลุ่มตัวอย่างการวิจัยคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่3 ในจังหวัดแม่ฮ่องสอน ซึ่งได้มาจากการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย (simple random sampling)จำนวนทั้งหมด 279 คน แบ่งเป็นการทดลอง 5 ครั้งในช่วงเวลาใกล้เคียงกันภายในเวลาไม่เกิน 1สัปดาห์ ครั้งละ 1 กลุ่ม (1 โรงเรียน) โดยแต่ละกลุ่มจะถูกทดลองโดยการใช้แบบทดสอบก่อนชมรายการสไลด์มัลติวิชั่น เรื่องการป้องกันไฟป่า จากนั้นจึงฉายสไลด์มัลติวิชั่น เรื่องการป้องกันไฟทดลองชม แล้วจึงให้กลุ่มทดลองทำแบบทดสอบหลังจากการชมสไลด์มัลติวิชั่นเรื่องการป้องกันไฟบำ การรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถาม แบบทดสอบ และแบบประเมินสื่อสไลด์มัลติวิชั่น จากนั้นจึงนำข้อมูลมาวิเคราะห์ทางสถิติเพื่อหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย สวนเบียงเบน มาตรฐาน และ t-testความรู้เรื่องการป้องกันไฟป่าของนักเรียนก่อนซมสไลด์มัลติวิชั่นเรื่อง การป้องกันไฟป้า และหลังชมสไลด์มัลติวิชั่นเรื่องการป้องกันไฟป่มีความแตกต่างกัน คือ ความรู้เรื่องการป้องกันไฟป่าที่เพิ่มขึ้นของนักเรียนซึ่งเรียนรู้จากสไลด์มัลติวิชั่นเรื่องการป้องกันไฟปา มีมากกว่าเดิม เมื่อทดสอบความแตกต่างด้วยวิธีการทางสถิติพบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของความรู้ที่เพิ่มขึ้นตามกลุ่มของเนื้อหาปรากฎว่า1. เรื่องความหมายของไฟป่า นักเรียนมีความรู้เพิ่มขึ้นมากที่สุด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2. เรื่ององค์ประกอบของไฟป๋า เครื่องมือดับไฟบำที่เรียกว่าราโค่ ความสำคัญของป๋าไม้ สาเหตุของไฟป่า อันตรายและกระทบจากไฟป่า วิธีการป้องกันไฟป่าและบทบาทของประชาชนในการป้องกันไฟป่ นักเรียนมีความรู้เพิ่มขึ้นรองลงมา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.05 3. เรื่องหน่วยงานกับการจัดการปัญหาไฟป่า นักเรียนมีความรู้เพิ่มขึ้นเล็กน้อยอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ 4. เรื่องประโยชน์ทางอ้อมของบำไม้ในการป้องกันอุทกภัย และวิธีการป้องกันไฟป่าของประชาชนที่เก็บหาของบำ นักเรียนมีความรู้ลดลงความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อรายการสไลด์มัลติชั่นเรื่องการป้องกันไฟบำพบว่า ด้านเนื้อหาอยู่ในระดับดี (คำเฉลี่ย 4.09) ด้านภาพอยู่ในระดับดี (ค่าเฉลี่ย 3.96) และด้านเสียงอยู่ในระดับดี (ค่าเฉลี่ย 4.10) เช่นเดียวกันen_US
dc.publisherMaejo Universityen_US
dc.subjectภาพนิ่งen_US
dc.subjectไฟป่าen_US
dc.subjectการป้องกันและดวบคุมen_US
dc.titleผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่องการป้องกันไฟป่าจากสไลด์มัลติวิชั่น ของนักเรียน ในจังหวัดแม่ฮ่องสอนen_US
dc.title.alternativeachievement in forest fire prvevntion through multi-vision slides in Maehongson provinceen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Business Administration

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
pichit-piyachote.PDF2.43 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.