Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1901
Title: ผลการเรียนรู้เชิงพุทธพิสัยของเกษตรกรจากรายการวิดีทัศน์ที่มีเทคนิคการดำเนินเรื่องแตกต่างกัน
Other Titles: Farmers' cognitive acguistion through video programs using different techniques
Authors: วิโรจน์ บรรเจิดฤทธิ์
Keywords: วีดิทัศน์
การเรียนรู้
จิตวิทยา
Issue Date: 1994
Publisher: มหาวิทยาลัยแม่โจ้
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลการเรียนรู้เชิงพุทธินิสัยของเกษตรกรจากการชมรายการวีดิชศน์ที่มี ทคนิดการดำเนินเรื่องแตกต่างกัน 3 แบบ คือ (1) รายการวีดิทัศน์ที่มีเฉพาะวิธีการปฏิบัติที่ถูกต้อง (2) รายการวีดิทัศน์ที่มีวิธีการปฏิบัติที่ผิดมาแทรกวิธีการปฏิบัติที่ถูกสลับกันทีละชั้นตอน (3) รายการรีติทัศน์ที่มีวิธีการปฏิบัติที่ผิดมาแทรกวิธีการปฏิบัติที่ถูกสลับกันทีละชั้นตอนโดยมีสัญลักษณ์ x หรือ J กำกับด้วย การวิจัยใช้การทดลองแบบ Random i zed Pretest-Posttest Control Group Design โดยมีกลุ่มตัวอย่างการวิจัย คือ เกษตรกรในตำบลเขื่อนผาก อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายชั้นตอน (multi-stagerandom samp1ing) จำนวนทั้งหมด 120 คน แบ่งเป็น 3 กลุ่ม ๆ ละ 40 คน กลุ่มแรกเป็นกลุ่มควบคุมเรียนรู้จากรายการวีดิทัศน์ที่ใช้เทคนิคการดำ เนินเรื่องที่มีเฉพาะวิธีการปฏิบัติที่ถูกต้อง กลุ่มที่สองเรียนรู้จากรายการวีดิทัศน์ที่ใช้เทคนิคการดำเนินเรื่องที่มีวิธีการปฏิบัติผิดมาแทรกวิธีการปฏิบัติถูกสลับกันทีละชั้นตอน และกลุ่มที่สามเรียนรู้จากรายการวีติทัศน์ที่ใช้เทคนิคการดำ เนิน เรื่องที่มีวิธีการปฏิบัติผิดมาแทรกวิธีการปฏิบัติถูกสลับกันทีละขั้นตอน โดยมีสัญลักษณ์ x และ / กำกับด้วย เนื้อหาที่ใช้สอนคือเรื่อง "วิธีปฏิบัติในการปลูกเลี้ยงไม้กระถาง" รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและแบบทดสอบจากนั้นจึงนำข้อมูลมาวิเคราะห์ทางสถิติเพื่อหาค่าร้อยละ, ค่าเฉลี่ย, ค่เขี่ยงเบนมาตรฐาน, ด่ Chi-square, ค่า t, ค่า F ละ dLeast signlfcant Difference (ISD) (9) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. การเวียนรู้เชิงพุทธิพิสัยหลังชมรายการวีดิทัศน์ของเกษตรกรทั้ง 3 กลุ่ม สูงกว่าความรู้พื้นฐานก่อนชมรายการวีติทัศน์อย่างมีนัยสำศัญยิ่งทางสถิติ 2. การเรียนรู้เชิงพุทธินิสัยหลังชมรายการวีดิทัศน์ของเกษตรกรทั้ง 3 กลุ่มแดกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยพบว่าเกษตรกรที่เรียนจากรายการวัดิทัศน์ที่มีวิธีการปฏิบัติผิดมาแทรกวิธีการปฏิบัติถูกสลับกันทีละชั้นตอน โดยมีสัทูลักษณ์ x และ / กำกับด้วผยลการเรียนรู้สูงสุด รองลงมาคือรายการวีติทัศน์ที่มีวิธีการปฏิบัติผิดมาแทรกวิธีการสลับกันทีละชั้นตอน ขณะที่รายการวีดิทัศน์ที่มีเฉพาะวิธีการปฏิบัติที่ถูกต้องมีผลการเรียนรู้ต่ำสุด และเมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนน เฉลี่ยทีละคู่ ผลปรากฎว่า 2. 1 คะแนน เฉลี่ยของ เกษตรกรกลุ่มที่เรียนจากรายการวีดิทัศน์ที่มีเฉพาะวิธีการปฏิบัติที่ถูกต้องกับกลุ่มที่ เรียนจากรายการวีดิทัศน์ที่มีวิธีการปฏิบัติผิดมาแทรกวิธีการปฏิบัติถูกสลับกันทีละชั้นตอน ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 2.2 คะแนน เฉลี่ยของ เ กษดรกรกลุ่มที่เรียนจากรายการวีติทัศน์ที่มีวิธีการปฏิบัติผิดมาแทรกวิธีการปฏิบัติถูกสลับกันทีละชั้นตอนเพียงอย่างเดียวกับกลุ่มที่ เรียนจากรายการวีดิทัศน์ที่มีวิธีการปฏิบัติผิดมาแทรกวิธีการปฏิบัติถูกสลับกันทีละชั้นตอน โดยมีสัญลักษณ์หรือ/ กำกับด้วยไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ2. 3 คะแนนเฉลี่ยของ เกษตรกรกลุ่มที่เรียนจากรายการวีดิทัศน์ที่มีวิธีการปฏิบัติผิดมาแทรกวิธีการปฏิบัติถูกสลับกันทีละชั้นตอน โดยมีสัญลักษณ์ x หรือ / กำกับด้วย สูงกว่ากลุ่มที่เรียนจากรายการวีดิทัศน์ที่มีเฉพาะ วิธีการปกิบัติที่ถูกต้องอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
Description: เทคโนโลยีการเกษตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตร Master of Agricultural Technology (Agricultural Extension)
URI: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1901
Appears in Collections:

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
wirot-banchoetrit.PDF2.26 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.