Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1873
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Kriangsak Yuutho | en |
dc.contributor | เกรียงศักดิ์ ยุทโท | th |
dc.contributor.advisor | Nirote Sinnarong | en |
dc.contributor.advisor | นิโรจน์ สินณรงค์ | th |
dc.contributor.other | Maejo University | en |
dc.date.accessioned | 2023-11-17T04:48:46Z | - |
dc.date.available | 2023-11-17T04:48:46Z | - |
dc.date.created | 2022 | - |
dc.date.issued | 2022/06/13 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1873 | - |
dc.description.abstract | The purpose of this research was to develop participatory learning on emergency medicine in academic institutions in Chiang Rai province. The project was conducted to develop and evaluate which follows up by using both participated quantitative and qualitative data collection with Educational Service Area Offices, National Institute for Emergency Medicine, hospitals, Provincial Public Health Offices, local agencies, and teaching personnel/student leaders in Chiang Rai province. A sample of 306 participants was classified into 3 categories based on their area which consists of 1) Muang district area, 2) rural plain area, and 3) Rural high area. The project was conducted from January to December 2020. The research instruments used to collect data were: group discussion, in-depth interview questionnaires, emergency medical knowledge assessment form, skills related to basic emergency medical for students, quantitative data analyzed by using descriptive statistics, and qualitative content data analysis. The results of the research consisted of contents and learning forms of emergency medicine. There is a document for learning emergency medicine and a website which is www.ems4children.com as learning resources and testing the students’ understanding of emergency medicine. The results in the aspect of teaching and learning management were found that the student's average score was 78.5%. Moreover, the students showed understanding and could practice emergency medical on EMS rally activity testing with 77.4% of the average score which was considered to pass the 75% required criteria for both two testing methods. From the qualitative data, the administrators, teaching personnel, and students stated that the emergency medical learning plan was able passed on to be the “prototype” and used by others. This research was to evaluate the participatory learning models on emergency medicine in academic institutions in Chiang Rai province applied by using the CIPP Model for evaluating the factors in aspects of context, inlet, process, and production. Summarized as follows: 1) the total average at all aspects of participatory learning development on emergency medicine in academic institutions in Chiang Rai province was at high level, the inlet factor was at the highest level and the factor evaluation affected to development of the participatory learning on emergency medicine in academic institutions in areas of Chiang Rai province was at successive level, 2) the total average of environmental condition factor was at high level and when it was classified by item, it found that the factors in aspects of administrators and teachers were ready and understandingly of activity implementation, 3) the result of inlet factor evaluation under the Basic Education Commission, administrators and teachers’ opinions, it found that the total average was at highest level and the average factor in aspect of receiving external budget support was at highest level, 4) The results of total inlet factor in aspect of process under the Basic Education Commission, administrators and teachers’ opinions, it found that it was at highest level in relation to factor responsible by everyone and implemented by assignment with all one’s ability and 5) The total result of evaluating factor in aspect of production under students’ opinions, it found that lessons on cardiopulmonary resuscitation (CPR) and automated external defibrillator (AED) under students’ opinions was also at highest level after by item consideration. Social Return on Investment (SROI), the participatory learning model for emergency medicine in academic institutions in Chiang Rai province was used to clarify that all samples had an SROI of 34.17 which means an investment of one baht can generate social benefits amounted to 34.17 baht. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ด้านการแพทย์ฉุกเฉินอย่างมีส่วนร่วมในสถานศึกษาพื้นที่จังหวัดเชียงราย และได้รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาและการติดตามประเมินผล ทั้งข้อมูลเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพอย่างมีส่วนร่วมกับหน่วยงานด้านการศึกษา โรงเรียน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ โรงพยาบาล สาธารณสุขจังหวัด หน่วยงานท้องถิ่น และบุคลากรครู/แกนนำนักเรียนในจังหวัดเชียงราย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ได้มีการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 306 คน มาจาก 8 อำเภอของจังหวัดเชียงราย โดยจำแนกพื้นที่อำเภอที่โรงเรียนนั้นตั้งอยู่เป็น 3 ลักษณะเพื่อเป็นตัวแทนการวิจัยได้แก่ 1) พื้นที่อำเภอเมือง 2) พื้นที่เขตชนบทที่เป็นพื้นราบ และ 3) พื้นที่เขตชนบทที่เป็นพื้นที่สูง ได้ดำเนินการวิจัยตั้งแต่เดือนมกราคมถึงธันวาคม พ.ศ. 2563 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาวิจัยได้แนวคำถามที่ใช้ในการสนทนากลุ่ม แนวคำถามที่ใช้ในการสัมภาษณ์เชิงลึก แบบประเมินความรู้เกี่ยวกับกับการแพทย์ฉุกเฉิน แบบประเมินทักษะที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์ฉุกเฉินเบื้องต้นของนักเรียนและการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและใช้การวิเคราะห์เนื้อหาในส่วนข้อมูลเชิงคุณภาพ ผลการวิจัยและพัฒนามีเนื้อหาและรูปแบบการเรียนรู้ด้านการแพทย์ฉุกเฉิน โดยจัดทำเป็นเอกสารประกอบการเรียนการสอนด้านการแพทย์ฉุกเฉินสำหรับนักเรียน จัดทำเว็บไซต์ www.ems4children.com เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้และทดสอบความเข้าใจของผู้เรียน มีแผนการเรียนรู้ด้านการแพทย์ฉุกเฉินที่เหมาะสมกับการเรียนรู้ของนักเรียน ผลการจัดการเรียนการสอนพบว่า คะแนนของนักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 78.5 และการทำสอบด้วยกิจกรรม EMS Rally นักเรียนมีความเข้าใจและสามารถปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉินในทุกฐานร้อยละ 77.4 ซึ่งถือว่าผ่านเกณฑ์ที่กำหนดที่ร้อยละ 75 ทั้ง 2 วิธีทดสอบสำหรับข้อมูลเชิงคุณภาพ พบว่ามีความเห็นสอดคล้องในทิศทางเดียวกันทั้งผู้บริหาร บุคลากรครู และนักเรียน ที่เห็นว่าแผนการเรียนรู้ด้านการแพทย์ฉุกเฉินสามารถถ่ายทอดเป็น “ต้นแบบ” และต่อยอดในวงกว้างได้ ด้านการประเมินปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้การพัฒนาการเรียนรู้ด้านการแพทย์ฉุกเฉินอย่างมีส่วนร่วมในสถานศึกษาพื้นที่จังหวัดเชียงราย โดยประยุกต์ใช้รูปแบบการประเมินตาม CIPP Model เพื่อประเมินปัจจัยด้านบริบท ปัจจัยนำเข้า ปัจจัยด้านกระบวนการ และปัจจัยด้านผลผลิต สรุปได้ดังนี้ 1) ผลการประเมินปัจจัยการพัฒนาการเรียนรู้ด้านการแพทย์ฉุกเฉินอย่างมีส่วนร่วมในสถานศึกษาพื้นที่จังหวัดเชียงราย โดยรวมทุกด้านมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ด้านปัจจัยนำเข้ามีค่าเฉลี่ยมากที่สุดและผลการประเมินปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้การพัฒนาการเรียนรู้ด้านการแพทย์ฉุกเฉินอย่างมีส่วนร่วมในสถานศึกษาพื้นที่จังหวัดเชียงราย มีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับสำเร็จ 2) ผลการประเมินปัจจัยด้านสภาวะแวดล้อม มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ปัจจัยผู้บริหาร ครู มีความพร้อมและเข้าใจในการดำเนินกิจกรรม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด 3) ผลของการประเมินปัจจัยนำเข้าตามความคิดเห็นของ ผู้บริหาร ครู กรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมากสุด โดยปัจจัยการได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานภายนอก มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด 4) ผลการประเมินปัจจัยด้านกระบวนการ ตามความคิดเห็นของครู พบว่า โดยภาพรวมมีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด โดยปัจจัยที่ผู้รับผิดชอบทุกคน ดำเนินการตามที่ได้รับมอบหมาย อย่างเต็มกำลังความสามารถ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด และ 5) ผลปัจจัยการประเมินด้านผลผลิต ตามความคิดเห็นของนักเรียน พบว่า โดยภาพรวมนักเรียนมีความเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาผลที่เกิดรายด้าน พบว่า บทเรียนการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (CPR) และการใช้เครื่องกระตุกหัวใจด้วย การประเมินผลตอบแทนทางสังคมของการพัฒนาการเรียนรู้ด้านการแพทย์ฉุกเฉินอย่างมีส่วนร่วมในสถานศึกษาพื้นที่จังหวัดเชียงราย ผลการศึกษาพบว่าการพัฒนาการเรียนรู้ด้านการแพทย์ฉุกเฉินอย่างมีส่วนร่วมในสถานศึกษาพื้นที่จังหวัดเชียงราย มีผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุนเท่ากับ 34.17 หมายความว่า จากมูลค่าเงินลงทุน 1 บาท สามารถสร้างผลประโยชน์ต่อสังคมได้เป็นมูลค่า 34.17 บาท | th |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | Maejo University | - |
dc.rights | Maejo University | - |
dc.subject | การแพทย์ฉุกเฉิน | th |
dc.subject | การมีส่วนร่วม | th |
dc.subject | สถานศึกษา | th |
dc.subject | การเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วม | th |
dc.subject | รูปแบบการเรียนรู้ | th |
dc.subject | การประเมิน CIPP Model | th |
dc.subject | ปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาการเรียนรู้ | th |
dc.subject | ผลตอบแทนทางสังคม | th |
dc.subject | emergency medicine | en |
dc.subject | participation | en |
dc.subject | academic institution | en |
dc.subject | participatory learning | en |
dc.subject | learning style | en |
dc.subject | assessing the CIPP Model | en |
dc.subject | factors affecting the development of learning | en |
dc.subject | Social Return on Investment (SROI) | en |
dc.subject.classification | Economics | en |
dc.subject.classification | Administrative and support service activities | en |
dc.title | DEVELOPMENT OF PARTICIPATORY LEARNING IN EMERGENCY MEDICINE IN SCHOOLS IN CHIANG RAI PROVINCE | en |
dc.title | การพัฒนาการเรียนรู้ด้านการแพทย์ฉุกเฉินอย่างมีส่วนร่วมในสถานศึกษาพื้นที่จังหวัดเชียงราย | th |
dc.type | Dissertation | en |
dc.type | ดุษฎีนิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Nirote Sinnarong | en |
dc.contributor.coadvisor | นิโรจน์ สินณรงค์ | th |
dc.contributor.emailadvisor | nirote@mju.ac.th | - |
dc.contributor.emailcoadvisor | nirote@mju.ac.th | - |
dc.description.degreename | Doctor of Philosophy (Doctor of Philosophy (Applied Economics)) | en |
dc.description.degreename | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (เศรษฐศาสตร์ประยุกต์)) | th |
dc.description.degreelevel | Doctoral Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาเอก | th |
Appears in Collections: | Economics |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6112701002.pdf | 2.72 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.