Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1861
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Natcha Thanaporn | en |
dc.contributor | ณัฐชา ธนาภรณ์ | th |
dc.contributor.advisor | Kunpatsawee Klomthongjaroen | en |
dc.contributor.advisor | กัญญ์พัสวี กล่อมธงเจริญ | th |
dc.contributor.other | Maejo University | en |
dc.date.accessioned | 2023-11-17T04:10:32Z | - |
dc.date.available | 2023-11-17T04:10:32Z | - |
dc.date.created | 2023 | - |
dc.date.issued | 2023 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1861 | - |
dc.description.abstract | This qualitative study aimed to explore environmental conditions and strategies of homestay business management under COVID19 situations. Informants in this study consisted of 2 groups: knowledgeable group (community leader, government official, local administrative employee) and practitioners group (homestay entrepreneurs) in Mae Kam Pong village, Chiang Mai province, obtained by purposive sampling. Data were gained through focus group discussion and analyzed by using content analysis as well as SWOT/TOWS analyses. Findings showed that COVID19 pandemic had much impacts on homestay business there. This resulted in big decreased incomes and temporary closure of homestay business mainly due to a little need for it. To cope with the COVID19 pandemic, new products and services of the homestay should developed. Besides, the following should improved: management system, clear and effective communication, cost reduction, employee skill level, relations between employees, strict rules/regulations related to health and security, and digital technology. | en |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพแวดล้อมและศึกษากลยุทธ์ของธุรกิจโฮมสเตย์ ภายใต้สถานการณ์โควิด19 กรณีศึกษาหมู่บ้านแม่กำปอง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) และนำข้อมูลมาวิเคราะห์ในเชิงพรรณนา ซึ่งกำหนดกลุ่มประชากรเป้าหมายที่ประกอบไปด้วยการสัมภาษณ์แบบกลุ่มเฉพาะ ผู้ให้ข้อมูลแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มผู้รู้ เช่น ผู้นำชุมชน ราชการ พนักงานสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบล และกลุ่มผู้ปฏิบัติ เช่น กลุ่มผู้ประกอบการที่พักโฮมสเตย์แม่กำปอง จังหวัดเชียงใหม่ การวิจัยนี้ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling) ในการเลือกผู้ให้ข้อมูลและนำประเด็นอภิปรายสำหรับการสัมภาษณ์กลุ่มย่อย ข้อมูลจากการสัมภาษณ์จะนำมาวิเคราะห์ด้วยวิธีการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content Analysis) จากการสัมภาษณ์ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องตลอดจนวิเคราะห์ SWOT และ TOWS ผลการวิจัยพบว่า ธุรกิจโฮมสเตย์ในหมู่บ้านแม่กำปองได้รับผลกระทบอย่างหนักจากการระบาดของโควิด19 ส่งผลให้การท่องเที่ยวและรายได้ลดลง โฮมสเตย์บางแห่งต้องปิดชั่วคราว เนื่องจากความต้องการมีน้อย เพื่อรับมือกับสถานการณ์โควิด 19 กลยุทธ์การจัดการธุรกิจโฮมสเตย์ควรมีการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ ๆ เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของนักท่องเที่ยว พัฒนาระบบการบริหารการจัดการ การสื่อสารที่ชัดเจนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุน การยกระดับทักษะพนักงาน ส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างพนักงาน ปฏิบัติตามกฎระเบียบด้านสุขภาพและความปลอดภัยอย่างเคร่งครัด พัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลในการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ดังกล่าวจะเน้นย้ำถึงการท่องเที่ยวอย่างมีความรับผิดชอบและการปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง | th |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | Maejo University | - |
dc.rights | Maejo University | - |
dc.subject | โฮมสเตย์ | th |
dc.subject | โควิด19 | th |
dc.subject | วิถีชีวิตใหม่ | th |
dc.subject | homestay | en |
dc.subject | Covid19 | en |
dc.subject | new normal | en |
dc.subject.classification | Business | en |
dc.subject.classification | Accommodation and food service activities | en |
dc.title | STRATEGIC MANAGEMENT OF HOMESTAY BUSINESSUNDER COVID-19 CIRCUMSTANCE : A CASE STUDYOF MAE KAMPONG, CHIANGMAI | en |
dc.title | กลยุทธ์การจัดการธุรกิจโฮมสเตย์ ภายใต้สถานการณ์โควิด19กรณีศึกษาหมู่บ้านแม่กำปอง จังหวัดเชียงใหม่ | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การค้นคว้าอิสระ | th |
dc.contributor.coadvisor | Kunpatsawee Klomthongjaroen | en |
dc.contributor.coadvisor | กัญญ์พัสวี กล่อมธงเจริญ | th |
dc.contributor.emailadvisor | pranee-k@mju.ac.th | - |
dc.contributor.emailcoadvisor | pranee-k@mju.ac.th | - |
dc.description.degreename | Master of Business Administration (Master of Business Administration (Business Administration)) | en |
dc.description.degreename | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ)) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | - | en |
dc.description.degreediscipline | - | th |
Appears in Collections: | Business Administration |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6206401005.pdf | 3.56 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.