Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1858
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Teerawat Yioyim | en |
dc.contributor | ธีรวัฒน์ ยิ้วยิ้ม | th |
dc.contributor.advisor | Suriyajaras Techatunminasakul | en |
dc.contributor.advisor | สุริยจรัส เตชะตันมีนสกุล | th |
dc.contributor.other | Maejo University | en |
dc.date.accessioned | 2023-11-17T04:09:15Z | - |
dc.date.available | 2023-11-17T04:09:15Z | - |
dc.date.created | 2023 | - |
dc.date.issued | 2023 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1858 | - |
dc.description.abstract | This study was qualitative research and objectives of the research were: 1) to formulate a strategy for developing cooperation among the sector stobring Muay. Thai in to the Olympic Games; 2) to establish a strategy for developing cooperation between the sector stobring Muay Thai to a world heritage; 3) To regulate a strategy to develop cooperation among the sector stobring Muay Thai to support the development of the creative economy in exports and tourism. This research instrument was a semi-structured interview, focus group discussion, and forum organizing. They key informants consisted of representatives of boxers, representatives of boxing teachers and trainers, representatives of the boxer’s manager, representatives of owner of the boxing camp, representatives of government organizations, representatives of private business, representatives of the committee of clubs, associations and confederations related to Muay Thai, and representatives of academics related to Muay Thai. The results showed that Muay Thai had developed along with the history of the Thai nation since the Sukhothai, Ayutthaya, Thonburi period, and Rattanakosin periods. Muay Thai had been popular for all ages because Muay Thai had many benefits such as strength and delicacy art and culture, entertainment, sport, and heritage of Thai people that could support and develop the economy at all levels. Currently, Muay Thai had gained popularity allover the world, resulting in the Muay Thai industry still being adapted to the changing conditions of Thai and world society. Research results on the development strategy of cooperation among the sectors to bring Muay Thai in to the Olympic Games had been a strategic proposal for both upstream, midstream, and downstream, consisting of strategy to enhance the identity of a boxer, the development of a standard boxing camp, potential development of boxing trainers, development of professional boxer managers, developing Judging scoring standards, value developing competitors’ potential and Mr. Boxing Stadium, management and networking and management strategy at the ministry level. Research results on development strategy for cooperation among sectors to bring Muay Thai to a World Heritage contained sorting out the history of Muay Thai, Reinforcing the traces of Muay Thai and Thai culture, creating an identity of Thai boxing values, continuing the development of Muay Thai as a rarity, building cooperation of relevant sector stobring Muay Thai to world heritage. Research results on development strategy for cooperation among sectors to bring Muay Thai to support development of a creative economy in exports and tourism The Art of Muay Thai strategies for economic development by the state, Cooperation of the Thai boxing business sector towards the development of a creative economy. The art of Muay Thai for creative tourism, the brand of Muay Thai for creativity, and the strategy of Muay Thai for society. | en |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยเรื่อง ยุทธศาสตร์การพัฒนาการสร้างความร่วมมือของภาคส่วนเพื่อนำมวยไทยสู่การเป็นกีฬาโอลิมปิก การเป็นมรดกโลกและสนับสนุนพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ด้านการส่งออกและการท่องเที่ยว เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อจัดทำยุทธ์ศาสตร์การพัฒนาการสร้างความร่วมมือของภาคส่วนเพื่อนำมวยไทยสู่การเป็นกีฬาโอลิมปิก 2) เพื่อจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาการสร้างความร่วมมือของภาคส่วนเพื่อนำมวยไทยสู่การเป็นมรดกโลก 3) เพื่อจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาการสร้างความร่วมมมือของภาคส่วนเพื่อนำมวยไทยสู่การสนับสนุนพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ด้านการส่งออกและการท่องเที่ยว เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง การสนทนากลุ่มย่อย และการจัดเวทีเสวนา ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ประกอบด้วย ผู้แทนนักมวย ผู้แทนครูมวย ผู้ฝึกสอน ผู้แทนจัดการนักมวย ผู้แทนเจ้าของค่ายมวย ผู้แทนหน่วยงาน องค์กรภาครัฐที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ผู้แทนภาคเอกชน นักธุรกิจ ผู้แทนกรรมการชมรม สมาคม สมาพันธ์ที่เกี่ยวกับมวยไทย และผู้แทนนักวิชาการที่เกี่ยวกับมวยไทย ผลการวิจัยพบว่า มวยไทยมีพัฒนาการการก่อเกิดมาควบคู่กับประวัติศาสตร์ชาติไทยนับตั้งแต่ยุคสมัยกรุงสุโขทัย สมัยกรุงศรีอยุธยา สมัยกรุงธนบุรี มาจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ มวยไทยได้รับความนิยมมาทุกยุคสมัย เพราะมวยไทยมีคุณค่าประโยชน์มากมาย ทั้งในเชิงศิลปวัฒนธรรม มีทั้งความเข้มแข็งและความอ่อนช้อย เป็นสิ่งสร้างความบันเทิง เป็นกีฬาและเป็นมรดกของคนไทยที่สามารถนำมาสนับสนุนและพัฒนาเศรษฐกิจได้ในทุกระดับ สถานการณ์มวยไทยในปัจจุบันอาจกล่าวได้ว่ามวยไทยได้รับความนิยมไปทั่วโลกส่งผลให้วงการมวยไทยยังคงดำรงอยู่ได้ภายใต้การปรับตัวให้สอดคล้องกับสภาพการณ์การเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย สังคมโลก ผลการวิจัยเกี่ยวกับยุทธศาสตร์การพัฒนาการสร้างความร่วมมือของภาคส่วนเพื่อนำมวยไทยสู่การเป็นโอลิมปิก ได้ข้อเสนอที่เป็นยุทธศาสตร์ทั้งต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ ที่ประกอบด้วยยุทธศาสตร์เสริมสร้างอัตลักษณ์นักมวย การพัฒนาค่ายมวยให้มีมาตรฐาน การพัฒนาศักยภาพครูมวย ผู้ฝึกสอน การพัฒนาผู้จัดการนักมวยมืออาชีพ การพัฒนามาตรฐานการให้คะแนนการตัดสิน การพัฒนาศักยภาพผู้จัดการแข่งขัน และนายสนามมวยเชิงคุณภาพ การบริหารจัดการและสร้างเครือข่ายยุทธศาสตร์การบริหารจัดการในระดับกระทรวง ผลการวิจัยเกี่ยวกับยุทธศาสตร์การพัฒนาการสร้างความร่วมมือของภาคส่วนเพื่อนำมวยไทยสู่การเป็นมรดกโลก ประกอบด้วยยุทธศาสตร์การสังคายนาชำระประวัติศาสตร์มวยไทย การตอกย้ำร่องรอยมวยไทย วัฒนธรรมไทย การสร้างอัตลักษณ์คุณค่ามวยไทย การสืบสานต่อยอดพัฒนามวยไทยฐานะเป็นสิ่งหายาก การสร้างความร่วมมือของภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเพื่อนำมวยไทยไปสู่มรดกโลก ผลการวิจัยเกี่ยวกับยุทธศาสตร์การพัฒนาการสร้างความร่วมมือของภาคส่วนเพื่อนำมวยไทยสู่การสนับสนุนพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ด้านการส่งออกและการท่องเที่ยว ได้ข้อเสนอที่เป็นยุทธศาสตร์ที่ประกอบด้วย ยุทธศาสตร์ศิลปะมวยไทยเชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์โดยรัฐ ความร่วมมือของภาคส่วนธุรกิจมวยไทยสู่การพัฒนาเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ ศิลปะมวยไทยเพื่อการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ แบรนด์มวยไทยเพื่อสร้างสรรค์ และยุทธศาสตร์มวยไทยเพื่อสังคม | th |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | Maejo University | - |
dc.rights | Maejo University | - |
dc.subject | ยุทธศาสตร์การพัฒนา | th |
dc.subject | การสร้างความร่วมมือ | th |
dc.subject | โอลิมปิก | th |
dc.subject | มรดกโลก | th |
dc.subject | เศรษฐกิจสร้างสรรค์ | th |
dc.subject | development strategy | en |
dc.subject | cooperation | en |
dc.subject | Olympics | en |
dc.subject | world heritage | en |
dc.subject | creative economy | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Other service activities | en |
dc.title | DEVELOPMENT STRATEGY OF PRIVATE AND PUBLIC PARTNERSHIP FOR PUSH MUAY THAI TO OLYMPIC GAMES, WORLD HERITAGE AND SUPPORT THE DEVELOPMENT OF CREATIVE ECONOMY IN EXPORT AND TOURISM | en |
dc.title | ยุทธศาสตร์การพัฒนาการสร้างความร่วมมือของภาคส่วนเพื่อ นำมวยไทยสู่การเป็นกีฬาโอลิมปิก การเป็นมรดกโลก และสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ด้านการส่งออกและการท่องเที่ยว | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Suriyajaras Techatunminasakul | en |
dc.contributor.coadvisor | สุริยจรัส เตชะตันมีนสกุล | th |
dc.contributor.emailadvisor | suriyajaras@mju.ac.th | - |
dc.contributor.emailcoadvisor | suriyajaras@mju.ac.th | - |
dc.description.degreename | Master of Public Administration (Master of Public Administration (Public Administration)) | en |
dc.description.degreename | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารสาธารณะ)) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | - | en |
dc.description.degreediscipline | - | th |
Appears in Collections: | School of Administrative Studies |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6205405013.pdf | 6.58 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.