Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/168
Title: | VISITORS' BEHAVIOR AT THE LERNING CENTER OF CHIANG MAI ROYAL PROJECT FOUNDATION พฤติกรรมผู้มาเยือนศูนย์การเรียนรู้โครงการหลวง จังหวัดเชียงใหม่ |
Authors: | Panita Sirigasorn พนิตา ศิริเกษร Jirachai Yomkerd จิระชัย ยมเกิด Maejo University. School of Tourism Development |
Keywords: | พฤติกรรม ผู้มาเยือน โครงการหลวง Behavior Visitor Royal Project |
Issue Date: | 2020 |
Publisher: | Maejo University |
Abstract: | This research aimed to study the following: behavior of visitors of the Learning Center, Royal Project, Chiang Mai; tourist motivations of visitors of the Learning Center, Royal Project, Chiang Mai; and the relationship between behavior and motivation in tourism toward the Learning Center, Royal Project, Chiang Mai. The study areas were as follows: Angkhang Royal Agricultural Station, Inthanon Royal Agricultural Station, Nang Tok Royal Project Development Center, Nong Hoi Royal Project Development Center (Moncham). Using quota sampling a population sample was obtained consisting of 400 tourists or 100 respondents per study area. By means of a questionnaire data were collected and analyzed using computer software for obtaining values of statistical parameters such as percentage, mean value, and correlation.
Concerning the study on the visitors’ behavior at the Royal Project Learning Center, Chiang Mai province, it was found that most of the respondents were females, singles, aging less than 30 years old, residents in the north of Thailand, holders of bachelor's degree, with occupation as students, and having an average monthly income less than 15,000 baht.
On the visitors’ behavior toward the Royal Project Learning Center, Chiang Mai province, 22.5% of the visitors had visited the tourist destination more than 2 times and 48.8% of the visitors spent one day traveling time. Composing of 2-3 persons or friends traveling together were 38.8% of the visitors, and using private cars as means of transportation. As for accommodation, the most popular decision of staying in the Chiang Mai city area was 29.5%, while 28.2%.of the visitors stayed at the Inthanon Royal Project and Angkhang Station.
Through the social media most of the visitors or 67.25% decided to visit the tourist destination of the Royal Project Learning Center where 44.8% of the visitors had high expectations from the activities and 45.8% had expectations of knowledge from the Learning Center.
On the visitors’ motivation toward visiting the Learning Center were due to internal factors showing an average of 3.78 as very important while due to external factors showed an average of 3.78 as very important. However, motivation to visit coming from a personal desire showed 3.75 as important.
On the relationship between behavior and motivation on tourism or tourist destination, the Learning Center, Royal Project, Chiang Mai province, the study found that the relationship concerning personal desire to visit was opposing and at a low level. However, the relationship between behavior and motivation concerning educational or knowledge seeking desire or need of the visitors, it was supporting at a low level. การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมผู้มาเยือนศูนย์การเรียนรู้โครงการหลวง จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อศึกษาแรงจูงใจทางการท่องเที่ยวของผู้มาเยือนศูนย์การเรียนรู้โครงการหลวง จังหวัดเชียงใหม่ และเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมและแรงจูงใจทางการท่องเที่ยว ศูนย์การเรียนรู้โครงการหลวง จังหวัดเชียงใหม่ ในพื้นที่สถานีเกษตรหลวงอ่างขาง,สถานีเกษตรหลวงอินทนนท์,ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงตีนตก,ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงหนองหอย(ม่อนแจ่ม) ทำการรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามจากการสุ่มตัวอย่างแบบโควต้า ได้แก่นักท่องเที่ยวจำนวน 400 คน แบ่งตามพื้นที่ 4 ศูนย์ พื้นที่ละ 100 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย สหสมพันธ์ ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางคอมพิวเตอร์ ผลการศึกษาพฤติกรรมผู้มาเยือนในศูนย์การเรียนรู้โครงการหลวง จังหวัดเชียงใหม่ พบว่าผู้ให้ข้อมูลโดยส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิง สถานภาพโสด มีอายุน้อยกว่า 30 ปี ภูมิลำเนาอยู่ในภาคเหนือ มีระดับการศึกษาระดับปริญญาตรี มีอาชีพนักศึกษา และรายได้เฉลี่ยน้อยกว่า 15000 บาทต่อเดือน พฤติกรรมผู้มาเยือนศูนย์การเรียนรู้โครงการหลวง จังหวัดเชียงใหม่ โดยผู้มาเยือนเคยเดินทางมายังแหล่งท่องเที่ยว มากกว่า 2 ครั้ง ร้อยละ 22.5 และใช้ระยะเวลาในการเดินทางมาท่องเที่ยวเป็นเวลา 1 วัน ร้อยละ 48.8 เดินทางมาร่วมกัน 2-3 คนมีความสัมพันธ์เป็นเพื่อนกันมากที่สุด ร้อยละ 38.8 โดยใช้รถยนต์ส่วนบุคคลเป็นพาหนะเดินทาง การตัดสินใจพักแรมนิยมพักในพื้นที่เมืองเชียงใหม่ ร้อยละ 29.5 และพักแรมที่ศูนย์การเรียนรู้โครงการหลวงอินทนนท์และอ่างขาง ร้อยละ 28.2 ผู้มาเยือนโดยส่วนใหญ่ตัดสินใจท่องเที่ยวโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์เป็นส่วนมาก ร้อยละ 67.25 ผู้มาเยือนมีความคาดหวังต่อกิจกรรมระดับมาก ร้อยละ 44.8 ผู้มาเยือนมีการเรียนรู้ในศูนย์การเรียนรู้ระดับมาก ร้อยละ 45.8 แรงจูงใจผู้มาเยือนในศูนย์การเรียนรู้โครงการหลวง แรงจูงใจที่ทำให้ผู้มาเยือนเลือกเดินทางมายังศูนย์การเรียนรู้โครงการหลวงมีแรงจูงใจมาจากปัจจัยภายในตัวบุคลคลมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 3.87 อยู่ในระดับความสำคัญมาก แรงจูงใจจากปัจจัยภายนอก มีค่าเฉลี่ย 3.78 แรงจูงใจจากปัจจัยที่มาจากความต้องการอยู่ในระดับความสำคัญมาก ปัจจัยที่มาจากความต้องการ 3.75 อยู่ในระดับความสำคัญมาก ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรม และแรงจูงใจทางการท่องเที่ยว ศูนย์การเรียนรู้โครงการหลวง พบว่าการวางแผนการเดินทางมีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้ามกับความต้องการพักผ่อนส่วนบุคคล ระดับน้อย ส่วนการเรียนรู้ในการมาเยือนกับความต้องการศึกษา เรียนรู้ของบุคคลมีความสัมพันธ์ไปทิศทางเดียวกัน เช่นเดียวกับความคาดหวังกับกิจกรรมในพื้นที่ กับความต้องการในเรื่องการใฝ่รู้ ใฝ่เรียน แต่ระดับความสัมพันธ์ค่อนข้างน้อย |
Description: | Master of Arts (Master of Arts (Tourism Development)) ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาการท่องเที่ยว)) |
URI: | http://10.1.245.54/dspace/handle/123456789/168 |
Appears in Collections: | School of Tourism Development |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5809302004.pdf | 3.17 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.