Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1660
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKanpitcha Boonmeeen
dc.contributorกานต์พิชชา บุญมีth
dc.contributor.advisorChaiyot Sumritsakunen
dc.contributor.advisorชัยยศ สัมฤทธิ์สกุลth
dc.contributor.otherMaejo Universityen
dc.date.accessioned2023-09-28T06:04:23Z-
dc.date.available2023-09-28T06:04:23Z-
dc.date.created2023-
dc.date.issued2023/3/11-
dc.identifier.urihttp://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1660-
dc.description.abstractThis study aimed to investigate influence of performance motivation of financial performance and accounting of school office under the Chiang Mai Educational Service Area Office 1.  A set of questionnaires was used for data collection administered with a sample group of 85 school finance and accounting personnel.  Obtained data were analyzed by using descriptive statistics.  Inferential statistics was also used for analyzing Pearson’s coefficient correlation and multiple regression.  It aimed to analyze the influence of performance motivation. Results of the study revealed that most of the respondents were female, 31-40 years old and bachelor’s degree graduates.  Their year of accounting and financial service was less than 3 years with a salary range of 40,001-50,000 baht.  Most of the respondents worked for a medium school (121-600 students) in Muang district.  It was found that most of the respondents had a very high level of accounting/financial performance.  The performance motivation comprised 2 aspects; motivation factor and sustaining factor.  As a whole, the former was found at a high level (task type, responsibility, successful tasks and job progress).  The Latter was also found at a high level (compensation and working condition).  However, the following were found at a highest level: supervisor, interpersonal relationship, administrative policy, and job security.  Findings also showed that the motivation factor on job progress resulted in a negative effect on work performance related to accounting and finance.  However, administrative policy and job security resulted in a positive effect on work performance related to accounting and finance.  Interpersonal relationship had a negative effect on work performance related to accounting and finance.en
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของแรงจูงใจในการปฏิบัติงานที่มีผลต่อประสิทธิภาพการทำงานการเงินและบัญชีของบุคลากรของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง คือข้าราชการครูหรือบุคลากรผู้ปฏิบัติงานด้านการเงินและบัญชีของสถานศึกษา จำนวน 85 คน ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูล ทำการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ โดยใช้สถิติพรรณนา ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสูงสุด และค่าต่ำสุด ใช้สถิติอนุมานโดยใช้การวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และการถดถอยพหุคูณ เพื่อวิเคราะห์อิทธิพลของแรงจูงใจในการปฏิบัติงานที่มีผลต่อประสิทธิภาพการทำงาน ผลการศึกษาพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 31 – 40 ปี ระดับการศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี ประสบการณ์ในการทำงานการเงินและบัญชีน้อยกว่า 3 ปี รายได้ต่อเดือน 40,001 – 50,000 บาท ส่วนใหญ่ปฏิบัติงานในสถานศึกษาที่ตั้งอยู่ในอำเภอเมือง และสถานศึกษามีขนาดกลาง (จำนวนนักเรียน 121 – 600 คน) ในด้านประสิทธิภาพการทำงานการเงินและบัญชีตามเกณฑ์การประเมินการปฏิบัติงานด้านการเงินและบัญชีของสถานศึกษาส่วนใหญ่อยู่ในระดับดีมาก ในส่วนของแรงจูงใจในการปฏิบัติงานมี 2 ด้าน ได้แก่ ปัจจัยจูงใจ และปัจจัยค้ำจุน ปัจจัยจูงใจ พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับมาก ประกอบด้วยปัจจัยย่อย คือ ด้านลักษณะของงาน ด้านความรับผิดชอบ ด้านความสำเร็จของงาน ด้านความก้าวหน้าในงาน ผลอยู่ในระดับมาก ส่วนด้านการได้รับการยอมรับนับถือผลอยู่ในระดับมากที่สุด ปัจจัยค้ำจุน พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับมาก ประกอบด้วยปัจจัยย่อย คือ ด้านค่าตอบแทน และด้านสภาพการทำงานผลอยู่ในระดับมาก ส่วนด้านผู้บังคับบัญชา ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ด้านนโยบายในการบริหาร และด้านความมั่นคงในงาน ผลอยู่ในระดับมากที่สุด ผลการทดสอบสมมติฐานปัจจัยจูงใจและปัจจัยค้ำจุนส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานการเงินและบัญชีของบุคลากรของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 1 พบว่าปัจจัยจูงใจ ด้านความก้าวหน้าในงานส่งผลทางลบกับประสิทธิภาพการทำงานการเงินและบัญชี ปัจจัยค้ำจุน ด้านนโยบายในการบริหาร และด้านความมั่นคงในงานส่งผลทางบวกกับประสิทธิภาพการทำงานการเงินและบัญชี ส่วนด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ส่งผลทางลบกับประสิทธิภาพการทำงานการเงินและบัญชีth
dc.language.isoth-
dc.publisherMaejo University-
dc.rightsMaejo University-
dc.subjectแรงจูงใจในการปฏิบัติงานth
dc.subjectประสิทธิภาพการทำงานth
dc.subjectสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาth
dc.subjectperformance motivationen
dc.subjectwork performanceen
dc.subjectEducation Service Area Officeen
dc.subject.classificationBusinessen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleTHE INFLUENCE OF JOB MOTIVATION ON FINANCIAL AND ACCOUNTING OPERATIONS PERFORMANCE OF SCHOOL OFFICER UNDER CHIANG MAI EDUCATION SERVICE AREA OFFICE 1  en
dc.titleอิทธิพลของแรงจูงใจในการปฏิบัติงานที่มีผลต่อประสิทธิภาพการทำงานการเงินและบัญชีของบุคลากรของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 1th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorChaiyot Sumritsakunen
dc.contributor.coadvisorชัยยศ สัมฤทธิ์สกุลth
dc.contributor.emailadvisorchaiyot_s@mju.ac.th-
dc.contributor.emailcoadvisorchaiyot_s@mju.ac.th-
dc.description.degreenameMaster of Accountancy (Master of Accountancy (Accountancy))en
dc.description.degreenameบัญชีมหาบัณฑิต (บัญชีมหาบัณฑิต (การบัญชี))th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreediscipline-en
dc.description.degreediscipline-th
Appears in Collections:Business Administration

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6306402015.pdf3.11 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.