Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/165
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Arisara Kunghae | en |
dc.contributor | อริศรา กังแฮ | th |
dc.contributor.advisor | Arunee Yodboot | en |
dc.contributor.advisor | อรุณี ยศบุตร | th |
dc.contributor.other | Maejo University. Business Administration | en |
dc.date.accessioned | 2020-01-17T04:11:15Z | - |
dc.date.available | 2020-01-17T04:11:15Z | - |
dc.date.issued | 2020 | - |
dc.identifier.uri | http://10.1.245.54/dspace/handle/123456789/165 | - |
dc.description | Master of Accountancy (Master of Accountancy (Accountancy)) | en |
dc.description | บัญชีมหาบัณฑิต (บัญชีมหาบัณฑิต (การบัญชี)) | th |
dc.description.abstract | This research aimed to explore effectiveness of the basic education accounting system, and factors affecting the basic education accounting system. There were independent variables which included knowledge and understanding, acceptance of accounting information system and internal control of the school. The dependent variable was the effectiveness of the use of basic education accounting system, which was measured by the qualitative characteristics of useful financial information. It included fundamental qualitative characteristics and enhancing qualitative characteristics: 1) Relevance 2) Faithful Representation 3) Comparability 4) Verifiability 5) Timeliness 6) Understandability. By using questionnaire as an instrument, collecting data from government teachers and education personnel under Chiang Mai Primary Educational Service Area Office 5. There were 102 completed questionnaires for data analysis. Data were analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation, correlation and multiple regression analysis. The results indicated that the effectiveness of using basic education accounting system was at a high level. According to an analysis of factors affecting the effectiveness of basic education accounting system, it was found that respondents had knowledge and understanding at a low level. But accepting accounting information systems and internal controls were at a high level. For correlation analysis, the results showed that knowledge and understanding, and effort expectancy had a positive effect on the qualitative characteristics of useful financial information that were comparability and verifiability. | en |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาประสิทธิผลการใช้ระบบบัญชีการศึกษาขั้นพื้นฐาน และปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลการใช้ระบบบัญชีการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีตัวแปรอิสระคือ ความรู้ความเข้าใจ การยอมรับระบบสารสนเทศทางบัญชี และการควบคุมภายในสถานศึกษา ส่วนตัวแปรตามคือ ประสิทธิผลการใช้ระบบบัญชีการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งวัดจากคุณลักษณะเชิงคุณภาพของข้อมูลทางการเงินที่มีประโยชน์ตามที่สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์กำหนดไว้ ประกอบด้วยลักษณะเชิงคุณภาพพื้นฐาน 2 เรื่อง และลักษณะเชิงคุณภาพเสริม 4 เรื่อง ได้แก่ 1) ความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ 2) ความเป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรม 3) ความสามารถเปรียบเทียบได้ 4) ความสามารถพิสูจน์ยืนยันได้ 5) ความทันเวลา 6) ความสามารถเข้าใจได้ โดยทำการเก็บข้อมูลจากข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 5 และใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ มีแบบสอบถามที่สมบูรณ์ครบถ้วนในการวิเคราะห์ข้อมูล จำนวน 102 ฉบับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า ประสิทธิผลการใช้ระบบบัญชีการศึกษาขั้นพื้นฐานอยู่ในระดับมาก เมื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลการใช้ระบบบัญชีการศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบบัญชีการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษาอยู่ในระดับความรู้น้อย แต่มีการยอมรับระบบสารสนเทศทางบัญชี และมีการควบคุมภายในของสถานศึกษาอยู่ในระดับมาก เมื่อทดสอบความสัมพันธ์พบว่า ปัจจัยด้านความรู้ความเข้าใจ และความพยายามในการใช้งาน มีความสัมพันธ์ทางบวกต่อคุณลักษณะเชิงคุณภาพของข้อมูลทางการเงินที่มีประโยชน์ด้านความสามารถเปรียบเทียบได้ และด้านความสามารถพิสูจน์ยืนยันได้ | th |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | Maejo University | - |
dc.rights | Maejo University | - |
dc.subject | ประสิทธิผล | th |
dc.subject | ระบบบัญชีการศึกษาขั้นพื้นฐาน | th |
dc.subject | effectiveness | en |
dc.subject | basic education accounting system | en |
dc.subject.classification | Business | en |
dc.title | EFFECTIVENESS OF BASIC EDUCATION ACCOUNTING SYSTEM: A CASE STUDY OF SCHOOLS IN CHIANG MAI PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 5 | en |
dc.title | ประสิทธิผลการใช้ระบบบัญชีการศึกษาขั้นพื้นฐานกรณีศึกษา สถานศึกษา ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 5 | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การค้นคว้าอิสระ | th |
Appears in Collections: | Business Administration |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6006402014.pdf | 5.38 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.