Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1548
Title: | การศึกษาฟังก์ชันการผลิตและสภาพเศรษฐกิจของเกษตรกรผู้ผลิตลำไย โดยใช้และไม่ใช้สารโพแทสเซียมคลอเรตในจังหวัดลำพูน |
Other Titles: | a study on production function and economice of use and non-use potassium chlorate of longan farmers in Lumphun province, thailand |
Authors: | ทิพย์สุดา ทิพย์มณี |
Keywords: | การผลิต โพแทสเซียมคลอเรท ภาวะเศรษฐกิจ เกษตรกร ลำพูน |
Issue Date: | 2004 |
Publisher: | Maejo University |
Abstract: | เกษตรกรจะมีกำไรสุทธิเฉลี่ยเพียง 959.58 บาทต่อไร่ ถ้าคิดเฉพาะต้นทุนเงินสดที่จ่ายออกไปจริง เกษตรกรจะได้รับกำไรสุทธิเหนือต้นทุนเงินสด 2,929.95 บาทต่อไร่ผลการศึกษาฬงค์ชันการผลิตของเกษตรกรผู้ผลิตลำไยในฤดูโดยใช้สารโพแทสเซียมคลอเรตโดยใช้สมการการผลิตแบบเส้นตรง พบว่า ปัจจัยการผลิต ได้แก่ ที่ดิน แรงงาน ปุ๋ยเดมี สารป้องกันกำจัดโรดและแมลง และสารโพเทสเซียมคลอเรต สามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงของผลผลิตได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับนัยสำดัญ 0.10 โดยที่ดินเป็นปัจจัยสำคัญที่สุดในการผลิตลำไยโดยใช้สารโพแทสเซียมคลอเรต รองลงมา คือ แรงงาน ซึ่งมีค่าสัมประสิทธิ์ในการผลิตเท่ากับ 567.358 และ 4.434 ตามลำดับ ปัจจัยการผลิตทั้ง 5 ชนิดสามารถอธิบายความสัมพันธ์ของการผลิตลำไยโดยใช้สารโพแทสเชียมดลอเรตได้ร้อยละ 70.10 ส่วนที่เหลืออีกร้อยละ 29,90 เป็นอิทธิพลของปัจจัยอื่น ๆ สำหรับการศึกษาฟิงกัชันการผลิตของเกษตรกรผู้ผลิตลำไยในฤดูโดย ไม่ใช้สารโพแทสเชียมคลอเรตโดยใช้สมการการผลิตแบบเส้นตรง พบว่า ปัจจัยการผลิต ได้แก่ แรงงาน ปู้ยอินทรีย์ ปุ๊ยเดมี สารป้องกันกำจัดโรคและแมลง และอายุต้นลำไย สามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงของผลผลิตได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับนัยสำคัญ 0.10 โดยเรงงานเป็นปัจจัยสำคัญที่สุดในการผลิตดำไยโดยไม่ใช้สารโพแทสเซียมคลอเรต รองลงมา คือ ปุ๊ยเคมี ซึ่งมีค่าสัมประสิทธิ์ในการผลิตเท่ากับ 9.615 และ 1.369 ตามลำดับ ปัจจัยการผลิตทั้ง 5 ชนิดสามารถอธิบายความสัมพันธ์ของการผลิตลำไยโดยไม่ใช้สารโพทสเซียมคลอเรตได้ร้อยละ 45.40 ส่วนที่เหลืออีกร้อยละ 54.60 เป็นอิทธิพลของปัจจัยอื่น ๆ สำหรับปัญหาและอุปสรรคในการผลิตลำไยของเกตรกรผู้ผลิตลำไยโดยใช้และไม่ใช้สารโพแทสเซียมคลอเรต จากการศึกยาพบว่า ปัญหาการผลิตที่พบคล้ายดลึงกัน คือ ปุ๋ยและสารเคมีมีราคาแพง การระบาดของโรคและแมลงศัตรูพืช และสภาพอากาศแปรปรวน |
URI: | http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1548 |
Appears in Collections: |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
thipsuda-thipmanee.pdf | 68.96 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.