Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/146
Title: | LIFESTLYE MOTIVATION TO TRAVEL AND REFEREANCE GROUP AFFECTING AGO TOURISM DECISION OF THAI TOURISTS WHO CHOOSE TO TRAVEL AT DOI INTHANON NATIONAL PARK รูปแบบการดำเนินชีวิต แรงจูงใจ และการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงที่ส่งผลต่อ การตัดสินใจท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่เลือกท่องเที่ยว เชิงเกษตร ณ อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ ตำบลบ้านหลวง อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีตัวแปรการรับรู้ ด้านอัตลักษณ์ของสถานที่ท่องเที่ยวเป็นตัวแปรควบคุม |
Authors: | Songporn Nirapath ทรงพร นิรพาธ Prapassorn Vannasathid ประภัสสร วรรณสถิตย์ Maejo University. Business Administration |
Keywords: | รูปแบบการดำเนินชีวิต แรงจูงใจ การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง การตัดสินใจท่องเที่ยว การท่องเที่ยวเชิงเกษตร lifestyle motivation compliance of reference group decision making agrotourism |
Issue Date: | 2020 |
Publisher: | Maejo University |
Abstract: | This research aimed to explore lifestyle motivation to travel and reference group affecting Ago tourism decision of Thai tourists who chose to travel at Doi Inthanon National Park. The sample group consisted of 400 Thai tourists. A set of questionnaires was used for data collection and analyzed by descriptive statistics and inferential statistics. Results of the study were as follows: 1) the decision-making of the respondents to join agro-tourism had the perception variables on identities of tourist attractions which were characteristics of tourist attractions, services, presentation, and data dissemination; 2) motivation affecting the decision- making included characteristics of tourist attractions, services, presentations, and data dissemination; and 3) perception of tourist attractions, identities was not a control variable effecting the decision-making of the respondents. การวิจัยครั้งนี้ เป็นการศึกษารูปแบบการดำเนินชีวิต แรงจูงใจ และการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงที่ส่งผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่เลือกท่องเที่ยวเชิงเกษตร ณ อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ ตำบลบ้านหลวง อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีตัวแปรการรับรู้ด้านอัตลักษณ์ของสถานที่ท่องเที่ยวเป็นตัวแปรควบคุม กลุ่มตัวอย่างเป็นนักท่องเที่ยวชาวไทยที่ตัดสินใจท่องเที่ยวเชิงเกษตร ณ อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ จำนวน 400 คน เครื่องมือในการศึกษาคือ แบบสอบถาม สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ สถิติเชิงพรรณนา และสถิติเชิงอนุมาน สรุปได้ดังนี้ (1) รูปแบบการดำเนินชีวิตส่งผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่เลือกท่องเที่ยวเชิงเกษตร มีตัวแปรการรับรู้ด้านอัตลักษณ์ของสถานที่ท่องเที่ยวเป็นตัวแปรควบคุมซึ่งประกอบไปด้วย คุณสมบัติของสถานที่ท่องเที่ยว การบริการ การนำเสนอและ การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร (2) แรงจูงใจส่งผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่เลือกท่องเที่ยวเชิงเกษตร มีตัวแปรการรับรู้ด้านอัตลักษณ์ของสถานที่ท่องเที่ยวเป็นตัวแปรควบคุมซึ่งประกอบไปด้วย คุณสมบัติของสถานที่ท่องเที่ยว การบริการ การนำเสนอและ การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร (3) การรับรู้ด้านอัตลักษณ์ของสถานที่ท่องเที่ยวไม่เป็นตัวแปรควบคุมของการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงที่ส่งผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่เลือกท่องเที่ยวเชิงเกษตร |
Description: | Master of Business Administration (Master of Business Administration (Business Administration)) บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ)) |
URI: | http://10.1.245.54/dspace/handle/123456789/146 |
Appears in Collections: | Business Administration |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5906401016.pdf | 1.91 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.