Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1446
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | จรัญญา, สมภาร | - |
dc.date.accessioned | 2023-05-26T02:53:39Z | - |
dc.date.available | 2023-05-26T02:53:39Z | - |
dc.date.issued | 2021 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1446 | - |
dc.description.abstract | ในเขตภาคเหนือของประเทศไทยมีปริมาณผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยวปริมาณมากและเศษวัสดุที่เหลือมักถูกกำจัดด้วยวิธีการเผา ทำให้ส่งผลกระทบต่อโครงสร้างดินสำหรับการเพาะปลูกและสิ่งมีชีวิตบริเวณโดยรอบ และก่อให้เกิดปัญหาฝุ่นควัน แนวทางหนึ่งในการจัดการเศษวัดสุเกษตรที่ได้ ประโยชน์ใน เมื่อนำมาผลิตเป็นไบโอชาร์ด้วยกระบวนการไพโรไลซิสแบบช้า ซึ่งไบโอซาร์เป็น อินทรียวัตถุที่มีการยอมรับกันอย่างกว้างขวาง ในเรื่องประสิทธิภาพของการกักเก็บคาร์บอน ปริมาณ สารอาหาร และเพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพในดิน โดยงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัย ในการผลิต คุณสมบัติของใบไอซาร์ที่ผลิตได้ เปรียบเทียบคุณสมบัติไบโอชาร์ของผลงานวิจัยกับ บทความวิจัยอื่น ๆ และใบโอซาร์ที่มีขายในท้องตลาด ด้วยกระบวนการไพโรไลซิสแบบช้า อุณหภูมิใน กระบวนการผลิตในช่วง 300-700 องศาเซลเซียส การรักษาอุณหภูมิ 1 ชั่วโมง และ 2 ชั่วโมง ภายใต้ สภาวะไนโตรเจน ที่ 100 m/min ใช้เศษวัสดุเกษตรจำนวน 5 ชนิด ได้แก่ แกลบ ซังข้าวโพด เปลือก ลำไย เม็ดลำไย และกะลากาแฟ จากผลการทดสอบ พบว่า การเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิและการรักษา อุณหภูมิ ในกระบวนการไพโรไลซิสแบบช้า ส่งผลให้ปริมาณไบโอชาร์ ปริมาณสารระเหย มีค่าลดลง ส่วนค่าความเป็นกรดด่าง ค่าการนำไฟฟ้า ค่าพลังงานความร้อน พื้นที่ผิวและปริมาตรรูพรุน ความสามารถในการดูดซับน้ำ ปริมาณแก๊ส รวมถึงองค์ประกอบแร่ธาตุหลัก ที่มีประโยชน์ต่อการ เจริญเติบโตของพืช มีปริมาณเพิ่มขึ้น โดยค่าความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวก จะมีปริมาณลดลง ในช่วงอุณหภูมิ 300-500 องศาเซลเซียส และจะมีค่าเพิ่มขึ้น เมื่ออุณหภูมิ 700 องศาเซลเซียส ซึ่งเมื่อ ทําการเปรียบเทียบผลการทดสอบคุณสมบัติต่าง ๆ กับบทความวิจัยอื่น ๆ และใบโอชาร์ในท้องตลาด พบว่า มีคุณสมบัติที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับชนิดของชีวมวลที่นำมาใช้ในการผลิต อีกทั้งอุณหภูมิและ เวะ การรักษาอุณหภูมิ ยังส่งต่อการการเปลี่ยนแปลงค่าคุณสมบัติในไบโอชาร์ ถ้าหากจะนำไบโอชาร์ ที่ได้ในการผลิตไปใช้ในการปรับปรุงดิน ควรเลือกใช้สภาวะในการผลิตที่เหมาะสมกับดิน | en_US |
dc.description.sponsorship | มหาวิทยาลัยแม่โจ้ | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยแม่โจ้ | en_US |
dc.subject | ไบโอชาร์ | en_US |
dc.subject | ไพโรไลซิส | en_US |
dc.subject | เศษวัสดุเกษตร | en_US |
dc.subject | Biochar | en_US |
dc.subject | Agricultural residue | en_US |
dc.subject | Pyrolysis | en_US |
dc.title | การผลิตไบโอซาร์ด้วยกระบวนการไพโรไลชิสจากเศษวัสดุเกษตร | en_US |
dc.title.alternative | BIOCHAR PRODUCTION WITH PYROLYSIS PROCESS FROM AGRICUTURAL RESIDUE | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | ENG-Dissertation |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
jaranya_somparn.pdf | 66.22 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.