Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/142
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorRapeepan Sukjanthuken
dc.contributorระพีพรรณ สุขจันทึกth
dc.contributor.advisorPusanisa thechatakerngen
dc.contributor.advisorภูษณิศา เตชเถกิงth
dc.contributor.otherMaejo University. Business Administrationen
dc.date.accessioned2020-01-17T04:11:08Z-
dc.date.available2020-01-17T04:11:08Z-
dc.date.issued2019-
dc.identifier.urihttp://10.1.245.54/dspace/handle/123456789/142-
dc.descriptionMaster of Business Administration (Master of Business Administration (Business Administration))en
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ))th
dc.description.abstractThis research was conducted to study the following: 1) structure of the distribution channel of agricultural entrepreneurs in hygienic fruits and vegetables, Phrao district, Chiang Mai; 2) behaviors of people in the distribution channel of agricultural entrepreneurs in hygienic fruits and vegetables, Phrao district, Chiang Mai; and 3) problems and difficulties of distribution channel of agricultural entrepreneurs in hygienic fruits and vegetables, Phrao district, Chiang Mai. The sample group in this study consisted of 400 middlemen and 5 entrepreneurs who were farmers and entrepreneurs of hygienic fruits and vegetables. Data collection was done by using in-depth interview and a set of questionnaires. The study found that on the part of the entrepreneurs, they sold the products to consumers directly and through middlemen. The products sold in the country would be passed on by involved small farmers, traders, local and provincial retailers. The products sold to foreign countries would pass through the relevant parties. entrepreneurs, middlemen are collectors, local exporters and foreign correspondents collecting destination in the country. It was imported by importers of agricultural products abroad. The technique in selling the hygienic fruits and vegetables emphasized on quality, reliability, honesty of the middleman, payment terms and earnings from sales of products. On the part of transporting, there were merchants, retailers and middlemen who came to hygienic fruits and vegetables farms or transport throught taxi. In considering the issue of fast transit times, costs and safety transport had been the standard. On marketing information, the entrepreneurs had been informed marketing through middlemen and through social media such as Line and Facebook. Meanwhile, the entrepreneurs were also facing problems of price changes over time, quality of the product did not meet the needs of the market due to impacts of natural disasters. On the part of a small group of entrepreneurs, majority of them were females aged 51 years old and they sold their products to retailers. They bought hygienic fruits and vegetables from the farmers. there was a group of retailers and consumers as main targets so that hygienic fruits and vegetables were sold at the markets where customers would come to buy by themselves. They used private cars in transporting, because it was convenient and fast. They also received information about marketing from the group of local middlemen. In choosing distribution channel of the product. Regarding the yield seller selection who directly sold the yields to consumers. It was found that the entrepreneurs put the importance on the factor in selling directly their yields to consumers and through middlemen at a high level. For problems on distribution channel, it was found that the entrepreneurs put the importance on the problems at a moderate level. Pertaining to hypothesis testing, it showed that sex, age, level of education, experience in selling hygienic fruits and vegetables and annual income had an effect on the structure of distribution channel of agricultural entrepreneurs in hygienic fruits and vegetables and on behaviors of people in the distribution channel of agricultural entrepreneurs in hygienic fruits and vegetables.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาโครงสร้างช่องทางการกระจายสินค้าของผู้ประกอบการสินค้าเกษตร ผักและผลไม้ปลอดภัยจากสารพิษ อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ 2) เพื่อศึกษาพฤติกรรมบุคคลในช่องทางการกระจายสินค้าของผู้ประกอบการสินค้าเกษตร ผักและผลไม้ปลอดภัยจากสารพิษ อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ 3) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคของช่องทางการกระจายสินค้าของผู้ประกอบการสินค้าเกษตร ผักและผลไม้ปลอดภัยจากสารพิษ อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้ คือ กลุ่มผู้ประกอบการรายใหญ่ที่เป็นทั้งเกษตรกรโดยตรงและผู้ประกอบการสินค้าเกษตร ผักและผลไม้ปลอดภัยจากสารพิษ จำนวน 5 ราย และกลุ่มพ่อค้าคนกลางที่รับซื้อสินค้าเกษตร ผักและผลไม้ปลอดภัยจากสารพิษ จำนวน 400 ราย โดยใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก และแบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า ในส่วนของผู้ประกอบการรายใหญ่จะจำหน่ายผลผลิตให้กับผู้บริโภคโดยตรง และผ่านพ่อค้าคนกลาง ผลผลิตที่จำหน่ายภายในประเทศจะผ่านผู้ที่เกี่ยวข้องตั้งแต่ ผู้ประกอบการ เกษตรกรรายย่อย พ่อค้าส่ง พ่อค้าปลีกในท้องถิ่นและต่างจังหวัด ก่อนนำไปสู่ผู้บริโภค ส่วนผลผลิตที่จำหน่ายไปยังต่างประเทศจะผ่านผู้ที่เกี่ยวข้องตั้งแต่ ผู้ประกอบการ พ่อค้าคนกลาง คือผู้รวบรวม ผู้ส่งออกระดับท้องถิ่น นายหน้าติดต่อต่างประเทศ รวบรวมสินค้าปลายทางในประเทศ นำเข้าโดยผู้นำเข้าสินค้าเกษตรต่างประเทศ เทคนิคในการจำหน่ายผลผลิตเน้นคุณภาพ ความน่าเชื่อถือ ความซื่อสัตย์ของพ่อค้าคนกลาง เงื่อนไขการจ่ายเงิน กำไรที่ได้รับจากการขายผลผลิต ในส่วนการขนส่ง จะมีพ่อค้าส่ง พ่อค้าปลีก พ่อค้าคนกลางที่รวบรวมสินค้าเพื่อส่งออก มารับผลผลิตถึงที่ หรือส่งผ่านทางรถรับจ้าง โดยพิจารณาในเรื่องของความรวดเร็วต่อเวลาในการขนส่ง ค่าใช้จ่าย และความปลอดภัย ระบบขนส่งที่ได้รับมาตรฐาน ซึ่งผู้ประกอบการรายใหญ่ได้รับข้อมูลข่าวสาร ด้านการตลาดผ่านพ่อค้าคนกลาง และผ่านทางโซเชียลมีเดีย (Social Media) เช่น Line Facebook ในขณะเดียวกันผู้ประกอบการรายใหญ่ยังประสบปัญหาในเรื่องของราคาเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา คุณภาพของผลผลิตไม่ตรงตามกับความต้องการของตลาด เนื่องจากได้รับผลกระทบมาจากภัยธรรมชาติ ในส่วนของผู้ประกอบการรายย่อยส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุ 51 ปีขึ้นไป ส่วนใหญ่จะจำหน่ายให้กับพ่อค้าปลีกทั่วไป รับซื้อผักและผลไม้ปลอดภัยจากสารพิษจากเกษตรกร โดยมีกลุ่มพ่อค้าปลีก และผู้บริโภค เป็นเป้าหมายหลักทั้งนี้จะขายผักและผลไม้ปลอดภัยจากสารพิษที่ตลาดสด โดยลูกค้าจะเข้ามาซื้อสินค้าด้วยตัวเอง ใช้รถยนต์ในการขนส่ง เนื่องจากมีความสะดวก รวดเร็วต่อเวลาในการขนส่ง ซึ่งจะได้รับข้อมูลข่าวสารทางด้านการตลาดจากกลุ่มพ่อค้าคนกลางในท้องถิ่น ในการเลือกผู้จำหน่ายผลผลิต ที่ขายผลผลิตให้ผู้บริโภคโดยตรง และขายผลผลิตผ่านพ่อค้าคนกลาง พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญกับปัจจัยในการเลือกขายผลผลิตเองโดยตรง และปัจจัยในการเลือกขายผลผลิตผ่านพ่อค้าคนกลาง อยู่ในระดับมาก สำหรับปัญหาและอุปสรรคของช่องทางการกระจายสินค้าเกษตร ผักและผลไม้ปลอดภัยจากสารพิษ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามประสบปัญหา อยู่ในระดับปานกลาง ทั้งการขายผลผลิตเองโดยตรง และขายผ่านพ่อค้าคนกลาง ในการวิเคราะห์สมมติฐาน จะเห็นได้ว่า เพศ อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ในการขายสินค้าเกษตร ผักและผลไม้ปลอดภัยจากสารพิษ และรายได้ต่อปี มีผลต่อโครงสร้างช่องทางการกระจายสินค้าเกษตร ผักและผลไม้ปลอดภัยจากสารพิษ และมีผลต่อพฤติกรรมของบุคคลในช่องทางการกระจายสินค้าเกษตร ผักและผลไม้ปลอดภัยจากสารพิษ ทั้งการขายผลผลิตให้ผู้บริโภคโดยตรง และขายผลผลิตผ่านพ่อค้าคนกลางth
dc.language.isoth-
dc.publisherMaejo University-
dc.rightsMaejo University-
dc.subjectช่องทางการกระจายสินค้า, ผู้ประกอบการ, ผักและผลไม้ปลอดภัยจากสารพิษth
dc.subjectdistribution channelen
dc.subjectentrepreneursen
dc.subjecthygienic fruits and vegetablesen
dc.subject.classificationBusinessen
dc.titleDISTRIBUTION CHANNELS OF AGRICULTURAL ENTREPRENEURS IN HYGIENIC FRUITS AND VEGETABLES, PHRAO DISTRICT, CHIANG MAIen
dc.titleช่องทางการกระจายสินค้าของผู้ประกอบการสินค้าเกษตรผักและผลไม้ปลอดภัยจากสารพิษ อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
Appears in Collections:Business Administration

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5906401009.pdf2.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.