Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1399
Title: ความหลากหลายของกล้วยไม้ในป่าชุมชนบ้านปางเปา ตำบลขี้เหล็ก อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่
Other Titles: Orchid Diversity at Baan Pangpao Community Forest, Tambon Khilek, Maetaeng, Chiangmai
Authors: ชิต, อินปรา
Keywords: Baan Pangpao community forest
Native orchid
, Orchid diversity
Issue Date: 2018
Publisher: Maejo University
Abstract: การศึกษาความหลากหลายของกล้วยไม้ในป่าชุมชนบ้านปางเปา ตำบลขี้เหล็ก อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ ในปีแรกได้สำรวจศึกษาในแต่ละสัปดาห์ ตั้งแต่เดือนตุลาคม พ.ศ. 2559 ถึงเทียนกันยายน พ.ศ. 2560 พบกล้วยไม้พื้นเมือง 63 ชนิด ใน 2 วงศ์ย่อย คือ วงศ์ย่อยออร์ ตดี (Orchidoideae) เผ่าออร์คิดีอี (Orchideae) พบกล้วยไม้ 14 ชนิด ใน 4 สกุล คือ สกุลท้าวอู (Brachycorythis) | ชนิด สกุลสังหิน (Makwornia) 9 ชนิด สกุลนางอั้ว (Pectelitis) 2 ชนิด และสกุล นางตาย (Peristylus) 2 ชนิด และวงศ์ย่อยอีพิเดนดรอยด์” (Epidendroideae) พบกล้วยไม้ 49 ชนิด ใน 8 เผ่า ได้แก่ เผ่าเนอร์วิล (Nervikee) | สกุล คือ สกุลบัวสันโดษ (Nervillea) | ชนิด เผ่ามาลาซี ลี (Malaxideae) 3 สกุล สกุลไลพ ส (puri) 2 ชนิด สกุลหูเสือ (Malaxis) 1 ชนิด และสกุล พัดนางชี (Oberoni) 1 ชนิด เผ่าซิมบีดีอี (Cymbideae) 4 สกุล คือ สกุลเอื้องโรย (Bromheadia) | ชนิต สกุลการกร่อน (Cymbidium) 2 ชนิด สกุลอ่านยิ่ง (Bulophia) 3 ชนิด และสกุลเอื้องจูงนาง (Geodorum) 3 ชนิด เผ่าอาร์ซูซี (Arctisease) 2 สกุล คือ ว่านข้าวเหนียว (Pachystoma) | ชนิด และสกุลเอื้องดินใบหมาก (Spathoglottiy) | ชนิด เผ่าซีโลจีบีอี (Coelogyneae) 1 สกุล สกุลหมาก เลื่อม (Cologne ) 2 ชนิด เผ่าไซโตคีย์ (Pookschile) 1 สกุล คือ สกุลเอื้องตะขาบขาว (Eria) 2 ชนิด เผ่าคนโตรบี (Dersnobieae) 2 สกุล คือ สกุลสิงโต (Billyythm) 3 ชนิด และสกุลหวาย (Dendrobium) 8 ชนิด และเผ่าแวนต่อ (Vandteae) ( สกุล คือ สกุลกุหลาบ (Aerides) 3 ชนิด สกุล พญาไร้ใบ (Chiloschista) 1 ชนิด สกุลไคลโซสโตมา (Cleisostoma) 3 ชนิด สกุลเอื้องลิ้นดำ (Luisia) 3 ชนิด สกุลฟาแลนอปซิส (Phalaenopsis) 1 ชนิด สกุลช้าง (Rhynchostylis) 1 ชนิด สกุล เข็มหนู (Smitinandia) 1 ชนิด สกุลเสือ (Stuttrochilus) 1 ชนิด และสกุลสามปอย (Vanda) 2 ชนิด จํานวนประชากรกล้วยไม้ที่พบในแต่ละเขต มีความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับความอุดมสมบูรณ์ ของป่า เดือนที่พบกล้วยไม้เริ่มบานจำนวนมากที่สุดในเดือนเมษายน รองลงมาคือเดือนสิงหาคม และพบจำนวนน้อยที่สุดในเดือนธันวาคม ในปีที่สองได้นำต้นกล้วยไม้ชนิดที่พบในพื้นที่และมี ความสวยงามเข้าไปปลูกเสริม จำนวน 4 ชนิด รวม 3,000 ต้น พบว่ามีต้นกล้ากล้วยไม้บางต้นได้รับ ความเสียหายจากไฟป่า อย่างไรก็ตามกล้วยไม้ส่วนใหญ่ก็ยังคงเหลือรอดและเจริญเติบโตต่อไป คำสำคัญ: ป่าชุมชนบ้านปางเปา กล้วยไม้พื้นเมือง ความหลากหลายของกล้วยไม้
URI: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1399
Appears in Collections:RAE-Technical Report

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
chit_inpra.pdf35.75 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.