Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1253
Title: | THE IMPACTS OF URBANIZATION ON UNEMPLOYMENT ผลกระทบของการกลายเป็นเมืองต่อการว่างงาน |
Authors: | Nattharika Suwannarat ณัฐริกา สุวรรณรัตน์ Thanchanok Bejrananda ธรรญชนก เพชรานนท์ Maejo University. Economics |
Keywords: | การว่างงาน การกลายเป็นเมือง การย้ายถิ่น Unemployment Urbanization Migration |
Issue Date: | 2022 |
Publisher: | Maejo University |
Abstract: | Urbanization is the population changes from rural to urban, the decreasing proportion of people who lives in rural areas. Urbanization is the cause of adaptation in occupation, culture, and behavior. When more labor migration occurs, urbanization increases and it will affect the economy. The consequence of urbanization is employment. So, the objective of this research is the examination of the impacts of urban development on unemployment during 2000 and 2019. The panel data is analyzed by using Panel Cointegration Test, Panel FMOLS, and Panel VECM. The results illustrate that the personal remittances, inflow of foreign population and labor force participation is negatively and significantly related to unemployment. This result implies that the personal remittances, inflow of foreign population and labor force participation decrease, unemployment will increase. On the other hand, the urban population and service have a positive relationship with unemployment, which that emphasizes the urban population and service increase, unemployment will increase. The obvious result indicates that the urban population, service, personal remittances, inflow of foreign population, labor force participation and life expectancy at birth are statistically significant in influencing unemployment in the short run. According to the research, the long-term relationship of unemployment and urbanization is consistent with the Harris Todaro theory hypothesis, and the speed of short-term adaptation to long-term equilibrium is 18 percent. การขยายตัวของความเป็นเมืองเป็น กระบวนการทางเศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนแปลงพื้นที่ชนบทให้กลายเป็นเมืองขณะเดียวกันก็เปลี่ยนรูปแบบการกระจายตัวของประชากรเชิงพื้นที่ไปยังเขตเมืองมากขึ้น ยังรวมถึงการเปลี่ยนแปลงการประกอบอาชีพ วิถีชีวิต วัฒนธรรม และพฤติกรรม เมื่อเกิดการย้ายถิ่นฐานของแรงงานที่มากขึ้นจะทำให้การขยายตัวของเมืองสูงขึ้น และส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ ผลที่ตามมาของการขยายตัวของความเป็นเมืองคือการจ้างงาน งานวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบผลกระทบของการกลายเป็นเมืองต่อการว่างงาน โดยใช้ข้อมูลอนุกรมเวลารายปีระหว่างปี พ.ศ. 2543 ถึง 2562 โดยใช้วิธี Panel Cointegration Test , Panel FMOLS และ Panel VECM จากการศึกษาพบว่าปริมาณการส่งเงินกลับ การไหลเข้าของประชากรจากต่างประเทศ และอัตราการมีส่วนร่วมของแรงงานมีนัยสำคัญในลักษณะความสัมพันธ์ที่ตรงกันข้ามกับอัตราการว่างงานแสดงให้เห็นว่าเมื่อปริมาณการส่งเงินกลับ การไหลเข้าของประชากรจากต่างประเทศ และอัตราการมีส่วนร่วมของแรงงานลดลงส่งผลต่ออัตราการว่างงานที่เพิ่มขึ้น ในทางกลับกันสัดส่วนของประชากรในเมือง และสัดส่วนมูลค่าเพิ่มของภาคบริการมีความสัมพันธ์ไปในทางเดียวกันกับการว่างงานแสดงให้เห็นว่าเมื่อสัดส่วนของประชากรในเมือง และสัดส่วนมูลค่าเพิ่มของภาคบริการเพิ่มขึ้น อัตราการว่างงานจะเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ผลของการวิจัยในครั้งนี้ยังบ่งชี้อีกว่าในระยะสั้นสัดส่วนของประชากรในเมือง สัดส่วนมูลค่าเพิ่มของภาคบริการ ปริมาณการส่งเงินกลับ การไหลเข้าของประชากรจากต่างประเทศ อัตราการมีส่วนร่วมของแรงงาน และอายุขัยเฉลี่ยมีนัยสำคัญที่ส่งผลต่อการว่างงาน จากผลงานวิจัยพบว่าความสัมพันธ์ในระยะยาวของการว่างงานกับการกลายเป็นเมืองสอดคล้องกับสมมติฐานของทฤษฎี Harris Todaro และความเร็วของการปรับตัวในระยะสั้นเพื่อเข้าสู่ดุลยภาพในระยะยาวมีค่าเท่ากับ 18 เปอร์เซ็นต์ |
Description: | Master of Economics (Applied Economics) เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (เศรษฐศาสตร์ประยุกต์)) |
URI: | http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1253 |
Appears in Collections: | Economics |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6412304004.pdf | 1.58 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.