Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1247
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNaiyanet Khownamgen
dc.contributorนัยเนตร ขาวงามth
dc.contributor.advisorParnprae Chaoprayoon Udomraksasupen
dc.contributor.advisorปานแพร เชาวน์ประยูร อุดมรักษาทรัพย์th
dc.contributor.otherMaejo University. School of Tourism Developmenten
dc.date.accessioned2022-07-19T06:52:25Z-
dc.date.available2022-07-19T06:52:25Z-
dc.date.issued2022/06/13-
dc.identifier.urihttp://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1247-
dc.descriptionMaster of Arts (Master of Arts (Tourism Development))en
dc.descriptionศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาการท่องเที่ยว))th
dc.description.abstractA research study on guidelines for community-based tourism management development in Chiang Mai Province The objectives of the study were as follows: 1) To investigate the standard level of tourism attraction management by the Chiang Mai Province's community-based tourism management. 2) investigate members' involvement in community-based tourism management in Chiang Mai Province. 3) To investigate the factors associated with the level of community-based tourism attraction management standards in Chiang Mai Province; and 4) To propose guidelines for the development of community tourism in Chiang Mai Province in accordance with community-based tourism standards. A questionnaire was used to collect data from 32 Chiang Mai tourism communities for this study. A small group meeting was organized after analyzing the data using descriptive statistics such as mean and standard deviation, as well as inferential statistics (Chi-Square Test), correlation analysis, and content analysis. The findings revealed that a community-based tourism group in Chiang Mai, 32 communities, with ages ranging from 6 to 10 years (53.10 percent), was a community enterprise model (37.50 percent). More than half of the community-based tourism group's territories were located in Chiang Mai Province. Sub-district Administrative Organization (SAO) (62.50%) The majority of the population is Lanna people (59.40%). In terms of culture/lifestyle (34.40%), there was a good level of community-based tourist attraction management standards (mean 2.78 SD = 0.77) and a high level of community participation in tourism attraction management by the community. (mean 3.93, standard deviation = 0.69). When each aspect was taken into account, it was discovered that the tourism community participated in community-based tourism management the most (mean 4.20 SD = 0.61), and the results of the analysis of factors related to the level of community-based tourism and tourism management standards in Chiang Mai Province discovered that community-based tourism group location (Chi-Square = 15.176) Participation of members in community-based tourism (Chi-Square = 7.952) The number is (r = 0.563). of community-based tourism-related groups At the significance level of 0.05, the number of gains received support (r = 0.455) and community-based tourism committee (r = 0.441) were correlated with the level of community-based tourism management standards in Chiang Mai, and guidelines for community-based tourism management development in Chiang Mai Province in accordance with the Community-Based Tourism Standards Chiang Mai Province discovered a tourism community with high standards. While the community has standards at a good level, good for 20 communities (62.50 percent), and at a fair level, it should develop tourism communities in all 6 aspects in different approaches.en
dc.description.abstractการศึกษาวิจัย เรื่อง แนวทางพัฒนาการบริหารจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีวัตถุประสงค์ในการศึกษาดังนี้ 1) เพื่อศึกษาระดับมาตรฐานการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชน จังหวัดเชียงใหม่ 2) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของสมาชิกด้านการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน จังหวัดเชียงใหม่ 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับระดับมาตรฐานการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชน จังหวัดเชียงใหม่ และ 4) เพื่อเสนอแนวทางในการพัฒนาชุมชนท่องเที่ยวตามเกณฑ์มาตรฐานการท่องเที่ยวโดยชุมชน จังหวัดเชียงใหม่ โดยการวิจัยครั้งนี้ได้เก็บข้อมูลจากชุมชนท่องเที่ยวในจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 32 ชุมชน โดยการใช้แบบสอบถาม การจัดประชุมกลุ่มย่อยโดยได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (Mean) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) ได้แก่ การทดสอบไคสแคว์ (Chi-Square Test) การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ (Correlation Analysis) และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 32 ชุมชน มีอายุของกลุ่มอยู่ในระหว่าง 6 – 10 ปี  (ร้อยละ 53.10) เป็นรูปแบบวิสาหกิจชุมชน (ร้อยละ 37.50) เขตพื้นที่ตั้งของกลุ่มการท่องเที่ยวโดยชุมชนมากกว่าครึ่งหนึ่งอยู่ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) (ร้อยละ 62.50) ประชากรส่วนใหญ่เป็นคนเมืองล้านนา (ร้อยละ 59.40) สิ่งดึงดูดใจของนักท่องเที่ยวให้เข้ามาในชุมชนมากที่สุดคือ ด้านวัฒนธรรม/วิถีชีวิต (ร้อยละ 34.40) มีระดับมาตรฐานการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชนในระดับดี (ค่าเฉลี่ย 2.78  S.D. = 0.77) และระดับการมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชน ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 3.93  S.D.=  0.69)  เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ชุมชนท่องเที่ยวมีส่วนร่วมในการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.20  S.D. = 0.61) และผลการวิเคราะห์ปัจจัยที่สัมพันธ์กับระดับมาตรฐานการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชน จังหวัดเชียงใหม่ พบว่า เขตพื้นที่ตั้งของกลุ่มการท่องเที่ยวโดยชุมชน (Chi-Square = 15.176) การมีส่วนร่วมของสมาชิกด้านการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน (Chi-Square = 7.952) จำนวนกลุ่มที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวโดยชุมชน (r = 0.563) จำนวนการได้รับการสนับสนุน (r = 0.455) และคณะกรรมการกลุ่มท่องเที่ยวโดยชุมชน (r = 0.441) มีความสัมพันธ์กับระดับมาตรฐานการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชน จังหวัดเชียงใหม่ ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 และแนวทางในการพัฒนาชุมชนท่องเที่ยวตามเกณฑ์มาตรฐานการท่องเที่ยวโดยชุมชน จังหวัดเชียงใหม่ พบว่า ชุมชนท่องเที่ยวที่มีมาตรฐานในระดับดีเยี่ยมสามารถเป็นชุมชนต้นแบบให้กับชุมชนอื่นในการพัฒนา ในขณะที่ชุมชนที่มีมาตรฐานในระดับดี ดี จำนวน 20 ชุมชน (ร้อยละ 62.50) และระดับพอใช้ควรที่จะพัฒนาชุมชนท่องเที่ยวในด้านต่างๆ ทั้ง 6 ด้าน ในแนวทางที่แตกต่างกันth
dc.language.isoth-
dc.publisherMaejo University-
dc.rightsMaejo University-
dc.subjectการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดเชียงใหม่th
dc.subjectการบริหารจัดการกลุ่มการท่องเที่ยวth
dc.subjectการมีส่วนร่วมth
dc.subjectมาตรฐานการท่องเที่ยวโดยชุมชนth
dc.subjectCommunity-based tourism in Chiang Mai Provinceen
dc.subjectTourism managementen
dc.subjectParticipationen
dc.subjectCommunity-based tourist management standardsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleGUIDELINES FOR COMMUNITY BASED TOURISM MANAGEMENT DEVELOPMENT CHIANG MAI PROVINCEen
dc.titleแนวทางพัฒนาการบริหารจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน จังหวัดเชียงใหม่th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:School of Tourism Development

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6209302004.pdf3.93 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.