Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/99
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorJakkrit Kuangwaenen
dc.contributorจักรกริช กวงแหวนth
dc.contributor.advisorKunpatsawee Klomthongjareonen
dc.contributor.advisorกัญญ์พัสวี กล่อมธงเจริญth
dc.contributor.otherMaejo University. Business Administrationen
dc.date.accessioned2020-01-17T04:08:27Z-
dc.date.available2020-01-17T04:08:27Z-
dc.date.issued2020-
dc.identifier.urihttp://10.1.245.54/dspace/handle/123456789/99-
dc.descriptionMaster of Business Administration (Master of Business Administration (Business Administration))en
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ))th
dc.description.abstractThis qualitative research study aimed to: 1) explore the context of changes of the Foundation for Education and Development of Rural Areas; 2) investigate its group management process; 3) find out its problems and obstacles; and 4) find how it conducted group management to empower its grassroots economy. The data were collected through in-depth interviews with its executive board members, committee members and stakeholders and also from focus-group discussions with members of the foundation. The findings could be summarized as follows: Firstly, main factors causing changes to the foundation were the chairperson of the foundation, its objectives and operational targets, the area scopes of its members, plans and budgets. All aforementioned factors were causes of linkages among its group management process, problems and obstacles. This led to ways to empower the grassroots economy of the foundation which consisted of 5 aspects, viz.its administration and management, human resource management, marketing, production and finance. All activities had to be merged in the group management process, viz. planning, organization management, guidance and control to make the outcomes of the foundation effective. To make the grassroots economy developed, it needed to have a good operational plan. As for its administration and management aspect, the visions, strategies, targets and developmental strategies of the foundation should be determined tangibly. As for its human resource development, it should focus on mental development, motivating employees to have compassion and obligation with the organization and knowledge potentiality development of the employees. As for its marketing, it should analyze the marketing context of the group and the foundation and then use the findings for marketing planning. As for its production, it had to have resources needed for production side, for example, production labors, manufacturing raw materials, investments, production machines and production potentiality. Besides, data on investment capitals had to be recorded. Finally, as for its finance, it should have a financial plan in order to search for investment funds or investment capitals for its business. Its investment funds should be allocated appropriately and its finance should be controlled by means of recording incomes and expenditures according to good accounting principles. It was also found that its administrators at all levels and members of the foundation shared important roles to strengthen and move forward the grassroots economy, to make communities have incomes and to solve their problems cooperatively by means of a group management process with principles and models of co-operatives. This should be accomplished along the line of ethics development in Buddhism and organizational value stating “Economy and Mind must be solved simultaneously” and in according with the operational context of the foundation.en
dc.description.abstractการศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาบริบทการเปลี่ยนแปลงของมูลนิธิฯ 2) ศึกษากระบวนการจัดการกลุ่ม 3) ศึกษาปัญหาและอุปสรรค และ 4) ศึกษาแนวทางการจัดการกลุ่มเพื่อเสริมสร้างศักยภาพเศรษฐกิจฐานรากของมูลนิธิฯ จากการใช้แบบสัมภาษณ์ทำการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกกับคณะผู้บริหาร คณะกรรมการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับมูลนิธิฯ และใช้แบบสนทนากลุ่มกับสมาชิกของมูลนิธิฯ ผลการศึกษาสามารถสรุปได้ว่า ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของมูลนิธิฯ คือ ประธานมูลนิธิฯ วัตถุประสงค์และเป้าหมายการดำเนินงาน ขอบเขตพื้นที่ของกลุ่มสมาชิก แผนงานและงบประมาณ ปัจจัยดังกล่าวเป็นเหตุเชื่อมโยงระหว่างกระบวนการจัดการกลุ่ม ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานของมูลนิธิฯ ทำให้ได้แนวทางการเสริมสร้างศักยภาพเศรษฐกิจฐานรากของมูลนิธิฯ ซึ่งประกอบไปด้วยกิจกรรมทางการจัดการสมัยใหม่ 5 ด้าน ได้แก่ การบริหารจัดการ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ การตลาด การผลิตและการเงิน ซึ่งทุกกิจกรรมต้องถูกหลอมรวมอยู่ในกระบวนการจัดการกลุ่ม ได้แก่ การวางแผน การจัดองค์การ การชี้นำและการควบคุม เพื่อให้ผลลัพธ์การดำเนินงานของมูลนิธิฯ มีประสิทธิภาพ เศรษฐกิจฐานรากได้รับการพัฒนาต้องมีการวางแผนการปฏิบัติการที่ดี สำหรับด้านการบริหารจัดการควรมีการกำหนดวิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ เป้าหมาย และกลยุทธ์การพัฒนามูลนิธิฯ อย่างเป็นรูปธรรม ด้านทรัพยากรมนุษย์จะต้องมุ่งเน้นการพัฒนาไปที่จิตใจ การจูงใจให้พนักงานเกิดความรักและผูกพันในองค์การ การพัฒนาศักยภาพความรู้ ความสามารถของพนักงาน ด้านการตลาดควรทำการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมการตลาดของกลุ่มและมูลนิธิฯ เพื่อนำมาใช้ในการวางแผนจัดทำแผนการตลาด ด้านการผลิตจะต้องมีทรัพยากรที่จำเป็นต้องใช้ในภาคการผลิต เช่น แรงงานการผลิต วัตถุดิบที่ใช้ เงินทุนสำหรับการลงทุน เครื่องจักรสำหรับการผลิต กำลังการผลิตที่สามารถทำได้และจะต้องมีการจัดเก็บข้อมูลต้นทุนการผลิต และด้านการเงินควรมีการวางแผนการเงิน การจัดหาเงินทุนหรือแหล่งเงินทุนเพื่อนำมาใช้ในการดำเนินงาน ต้องมีการจัดสรรเงินทุนให้เหมาะสมและมีการควบคุมการเงิน โดยการบันทึกข้อมูลบัญชีตามหลักการที่ถูกต้อง ทั้งนี้ผู้บริหารทุกระดับและสมาชิกของมูลนิธิฯ มีส่วนสำคัญที่จะช่วยให้เกิดความเข้มแข็งในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก สามารถสร้างรายได้ให้กับชุมชนได้โดยการมุ่งดำเนินงานและแก้ไขปัญหาร่วมกันด้วยระบบกลุ่มตามหลักการและรูปแบบวิธีการสหกรณ์ควบคู่ไปกับการพัฒนาด้านคุณธรรมตามหลักคำสอนทางพระพุทธศาสนา บนพื้นฐานค่านิยมขององค์การที่ว่า “เศรษฐกิจจิตใจ ต้องแก้ไขไปพร้อมกัน” ให้สอดคล้องกับบริบทการดำเนินงานของมูลนิธิฯth
dc.language.isoth-
dc.publisherMaejo University-
dc.rightsMaejo University-
dc.subjectGroup managementen
dc.subjectGrassroots economicen
dc.subjectThe foundation for education and development of rural areasen
dc.subjectModern managementen
dc.subject.classificationBusinessen
dc.titleTHE GRASSROOTS ECONOMIC EMPOWERMENT WITH GROUP MANAGEMENT OF THE FOUNDATION FOR EDUCATION AND DEVELOPMENT OF RURAL AREAS (FEDRA), MAE RIM DISTRICT, CHIANG MAI PROVINCEen
dc.titleการเสริมสร้างศักยภาพเศรษฐกิจฐานรากด้วยการจัดการกลุ่มของมูลนิธิศึกษาพัฒนาชนบท อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
Appears in Collections:School of Administrative Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5806401003.pdf3.6 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.