Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/939
Title: | EXTENDING SHELF LIFE OF LONGAN
(Dimocarpus longan Lour.)
BY GASOUS OZONE FUMIGATION
IN FORCED-AIR CIRCULATION SYSTEM การยืดอายุผลลำไยสด (Dimocarpus longan Lour.) ด้วยการรมแก๊สโอโซน ในระบบหมุนเวียนอากาศแบบบังคับ |
Authors: | Suthathip Wongpansuea สุธาทิพย์ วงศ์พันธุ์เสือ Jaturapatr Varith จตุรภัทร วาฤทธิ์ Maejo University. Engineering and Agro - Industry |
Keywords: | ลำไย แก๊สโอโซน ระบบบังคับอากาศแนวตั้ง อายุการเก็บรักษา Longan Ozone gas Forced-air circulation system shelf life extention |
Issue Date: | 2022 |
Publisher: | Maejo University |
Abstract: | The objective of this research was to study the effect of ozone gas fumigation with vertical air control system on quality of fresh longan. The experiments were designed with Central Composite Design or CCD was used to study 2 independents variables ozone concentration and time fumigation. The experiment was batched 10 kg longan and a force-air flow was used at average speed of 0.5 m/s. After fumigation, the longans were kept at a temperature of 4 ± 1 °C to determine the optimum condition of the longans. The ozonated longan was further analysis for its shelf life using a response surface methodology disease incidence as dependents variables. it was found that the optimal condition response was an ozone fumigation at a concentration of 3,000 ppm and fumigation time of 17 min. The optimal conditions can slow down the disease and browning on the longan peel up to 28 days. The weight loss and firmness throughout the storage period were not statistically significant differences (p≥0.05). The L* and b* color indexes of the ozonate longans were higher than the control. The ozone fumigation with vertical forced air system at a concentration of 3,000 ppm for 17 minutes can extend the shelf life of fresh longan from 15 days to 33 days. งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการรมแก๊สโอโซนด้วยระบบบังคับอากาศแนวตั้งต่อคุณภาพของลำไยสดโดยการออกแบบการทดลองด้วย Central Composite Design หรือ CCD เพื่อนำมาศึกษาปัจจัยต้น 2 ตัวแปรคือความเข้มข้นของโอโซน และเวลาที่ใช้ในการรมโอโซน ทำการรมลำไยสดครั้งละ 10 กก. ด้วยการใช้ระบบหมุนเวียนอากาศแบบแนวตั้งด้วยอัตราเร็วเฉลี่ย 0.5 m/s หลังจากนั้นลำไยจะถูกเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 4 ± 1°C และทำการประมวลผลเพื่อหาสภาวะที่เหมาะสมด้วยวิธีพื้นผิวตอบสนองของความเข้มข้นและเวลาในการรมโอโซนเพื่อยืดอายุการเก็บรักษาลำไยสด โดยใช้ผลตอบคือ การเกิดเชื้อ และผลของการวิจัยพบว่าสภาวะที่เหมาะสมที่สุดคือการรมรมลำไยที่ความเข้มข้น 3,000 ppm และเวลาในการที่ 17 นาที ทำให้ลำไยสดมีอายุการเก็บรักษา 28 วัน และสภาวะที่เหมาะสมที่สุดนำมาตรวจสอบและยืนยันผล สามารถชะลอการเกิดโรคและการเกิดสีน้ำตาลบนเปลือกลำไยได้ ส่วนการสูญเสียน้ำหนักและความแน่นเนื้อตลอดระยะเวลาการเก็บรักษาลำไยเปลี่ยนแปลงเล็กน้อยและไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p≥0.05) ค่าดัชนีสี L* และ b* ของลำไยที่รมแก๊สโอโซนมีค่าสูงกว่าลำไยที่ไม่ได้ผ่านการรมแก๊สโอโซน สามารถยืดอายุการเก็บรักษาลำไยสดได้จาก 15 วันเป็น 33 วันเมื่อเทียบกับลำไยที่ไม่ได้รมแก๊สโอโซน |
Description: | Master of Engineering (Master of Engineering (Food Engineering)) วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมอาหาร)) |
URI: | http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/939 |
Appears in Collections: | Engineering and Agro - Industry |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6103307005.pdf | 6.04 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.