Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/926
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSupachai Nuchiten
dc.contributorศุภชัย นุชิตth
dc.contributor.advisorThanakorn Lattirasuvanen
dc.contributor.advisorธนากร ลัทธิ์ถีระสุวรรณth
dc.contributor.otherMaejo University. Maejo University - Phrae Campusen
dc.date.accessioned2022-06-07T08:29:48Z-
dc.date.available2022-06-07T08:29:48Z-
dc.date.issued2022/03/28-
dc.identifier.urihttp://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/926-
dc.descriptionMaster of Science (Master of Science (Forest Management))en
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการป่าไม้))th
dc.description.abstractThe study on trees seed economical management  for production of seedling high quality. Aimed to study the germination rates and cultivating seeds of each type of wood to obtain high yields then to analysis cost and return of seedling. Methodology, selecting good quality of seedlings of 10 economic forest tree species included in  Tectona grandis L.f.,  Dalbergia oliveri Gamble,  Xylia xylocarpa (Roxb.) Taub,  Dalbergia cochinchinensis Pierre.,  Pterocarpus macrocarpus Kurz,  Afzelia xylocarpa (Kurz) Craib,   Thyrsostachys siamensis Gamble.,  Dendrocalamus strictus Nees.,  Dipterocarpus Obtusifolius Teijsm.ex Miq, and Dipterocarpus alatus Roxb. In order to test the percentage of viability, germination rate, and date. As the results compared 4 groups such as Fabaceae, Dipterocarpaceae, Poaceae and Lamiaceae. Firstly Fabaceae, the highest viability was Dalbergia oliveri Gamble 100%, germination rate was Afzelia xylocarpa (Kurz) Craib 89.75%, germination date was Dalbergia cochinchinensis Pierre. 38 days and average germination date was Afzelia xylocarpa (Kurz) Craib 14 days. Secondly Dipterocarpaceae, the highest viability was Dipterocarpus obtusifolius Teijsm. ex Miq. 82.80%, germination rate was Dipterocarpus alatus Roxb. 77.50%, germination date was Dipterocarpus obtusifolius Teijsm. ex Miq. 32 days and average germination date was Dipterocarpus alatus Roxb. 14 days. Thirdly Poaceae, the highest viability was Thyrsostachys siamensis Gamble. 100%, germination rate was Thyrsostachys siamensis Gamble. 93.75%, germination date was Thyrsostachys siamensis Gamble. and Dendrocalamus strictus Nees.  34 days and average germination date was Thyrsostachys siamensis Gamble. 11 days. Fourth Lamiaceae, was Tectona grandis L.f. had the highest in viability 94.20%, germination rate 43%, germination date 34 days and average germination date 9 days. On the other hand, the high total cost of seedling in 4 groups as Fabaceae was Dalbergia cochinchinensis Pierre. 12 THB/seedling/year, Dipterocarpaceae was Dipterocarpus Obtusifolius Teijsm.ex Miq, and Dipterocarpus alatus Roxb. 8 THB/seedling/year, Poaceae was Dendrocalamus strictus Nees. 8 THB/seedling/year, and Lamiaceae was Tectona grandis L.f. 12 THB/seedling/year.en
dc.description.abstractการศึกษาการจัดการเมล็ดพันธุ์ไม้ป่าเศรษฐกิจเพื่อผลิตกล้าไม้คุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอัตราการงอก วิธีการเพาะเมล็ดไม้แต่ละชนิดให้ได้ผลในปริมาณที่สูง และการวิเคราะห์หาต้นทุนและผลตอบแทนของกล้าไม้ วิธีการทำการคัดเลือกเมล็ดพันธุ์ไม้ป่าเศรษฐกิจ จำนวน 10 ชนิด จากแหล่งเมล็ดพันธุ์ไม้คุณภาพดี ประกอบด้วย สัก ชิงชัน แดง พะยูง ประดู่ป่า มะค่าโมง ไผ่รวก ไผ่ซาง ยางเหียง และยางนา เพื่อนำเมล็ดไปทำการทดสอบเปอร์เซ็นต์การมีชีวิตของเมล็ดพันธุ์ไม้ อัตราการงอกของเมล็ดพันธุ์ไม้ จำนวนวันที่งอกของเมล็ดพันธุ์ไม้  ผลการศึกษาเปรียบเทียบ 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มไม้วงศ์ถั่ว (Fabaceae) กลุ่มไม้วงศ์ยาง (Dipterocarpaceae) กลุ่มไม้วงศ์ไผ่ (Poaceae) และกลุ่มไม้วงศ์กะเพรา (Lamiaceae) โดยกลุ่มไม้วงศ์ถั่วพบเปอร์เซ็นต์การมีชีวิตมากที่สุดคือ ชิงชัน เท่ากับ 100 เปอร์เซ็นต์ อัตราการงอกสูงที่สุด คือ มะค่าโมง เท่ากับ 89.75 เปอร์เซ็นต์ จำนวนวันที่งอกของเมล็ดมากที่สุดคือ พะยูง เท่ากับ 38 วัน ค่าเฉลี่ยวันที่งอกของเมล็ดมากที่สุดคือ มะค่าโมง เท่ากับ 14 วัน กลุ่มไม้วงศ์ยาง พบเปอร์เซ็นต์การมีชีวิตมากที่สุดคือ ยางเหียง เท่ากับ 82.80 เปอร์เซ็นต์ อัตราการงอกสูงที่สุดคือ ยางนา เท่ากับ 77.50 เปอร์เซ็นต์ จำนวนวันที่งอกของเมล็ดยาวที่สุด คือ ยางเหียง เท่ากับ 32 วัน ยางนาค่าเฉลี่ยวันที่งอกของเมล็ดมากที่สุด เท่ากับ 14 วัน กลุ่มไม้วงศ์ไผ่พบเปอร์เซ็นต์การมีชีวิตมากที่สุดคือ ไผ่รวก เท่ากับ 100 เปอร์เซ็นต์ อัตราการงอกสูงที่สุดคือ ไผ่รวก เท่ากับ 93.75 เปอร์เซ็นต์ ไผ่รวก และไผ่ซาง มีจำนวนวันที่งอกของเมล็ดเท่ากัน เท่ากับ 34 วัน ไผ่รวกค่าเฉลี่ยวันที่งอกของเมล็ดมากที่สุด เท่ากับ 11 วัน และกลุ่มไม้วงศ์กะเพราพบสัก เปอร์เซ็นต์การมีชีวิต เท่ากับ 94.20 เปอร์เซ็นต์ อัตราการงอก เท่ากับ 43 เปอร์เซ็นต์ จำนวนวันที่งอกของเมล็ด เท่ากับ 34 วัน ค่าเฉลี่ยวันที่งอก เท่ากับ 9 วัน ส่วนต้นทุนรวมในการผลิตกล้าไม้เศรษฐกิจที่มีมูลค่าสูงที่สุดใน 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มไม้วงศ์ถั่ว คือพะยูง 12 บาท/กล้า/ปี กลุ่มไม้วงศ์ยาง คือยางเหียงและยางนา 8 บาท/กล้า/ปี กลุ่มไม้วงศ์ไผ่ คือกล้าไผ่ซาง 8 บาท/กล้า/ปี และกลุ่มไม้วงศ์กะเพรา คือสัก 12 บาท/กล้า/ปีth
dc.language.isoth-
dc.publisherMaejo University-
dc.rightsMaejo University-
dc.subjectการจัดการเมล็ดไม้ป่าth
dc.subjectเมล็ดพันธุ์ไม้ป่าเศรษฐกิจth
dc.subjectกล้าไม้คุณภาพth
dc.subjecttrees seed managementen
dc.subjecttrees seed economicalen
dc.subjectseedling high qualityen
dc.subject.classificationAgricultural and Biological Sciencesen
dc.titleTREES SEED ECONOMICAL MANAGEMENT FOR PRODUCTION OF SEEDLING HIGH QUALITYen
dc.titleการจัดการเมล็ดพันธุ์ไม้ป่าเศรษฐกิจเพื่อผลิตกล้าไม้คุณภาพth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Maejo University - Phrae Campus

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6208301019.pdf4.15 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.