Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/90
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKantamard Lamasaien
dc.contributorคัณฑมาศ หล้ามาทรายth
dc.contributor.advisorSureeporn Sarapiromen
dc.contributor.advisorสุรีย์พร สราภิรมย์th
dc.contributor.otherMaejo University. Scienceen
dc.date.accessioned2020-01-17T04:07:13Z-
dc.date.available2020-01-17T04:07:13Z-
dc.date.issued2019-
dc.identifier.urihttp://10.1.245.54/dspace/handle/123456789/90-
dc.descriptionMaster of Science (Master of Science (Nanoscience and Technology))en
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีนาโน))th
dc.description.abstractNowadays, rice products are studied to enhance its value such as in medical supplies and cosmetics. This research is therefore interested in the introduction of rice flour products to improved the loose powder. The study to improve the properties of rice flour two types of plasma techniques: low pressure plasma and Dielectric Barrier Discharge plasma were used This study at 50, 75, 100, 125 and 150 watts dielectric barrier discharge plasma dissipated power at 90 watts. Based on the experiment, after the sample of the rice flour bathed with plasma the results will be used to test the physical and chemical effects. Measuring the value of the free radical density of the plasma It was found that the low-pressure plasma detected the important free radical density: OH, N2, Hβ and Hα and the dielectric plasma barrier charger found significant free radicals, namely N2, O and O2. After which, the physical properties of the rice flour were observed by SEM it was found that after treatment rice flour had a more rough surface when the power increased and Rice flour after the dielectric plasma barrier being used to measure the water and oil absorbance found that the sample had a flat surface. In both results ability of water absorption decreased and the ability of oil absorption increased. The chemical analysis by ATR-FTIR technique found. the chemical composition of protein, carbohydrates and fats, which are the main constituents in rice flour. The result of the analysis using XPS technique found the group of functions of the terminal has increased and the non-polar group decreased thus corresponding to the effect of adsorption. Results from the UV-Visible Spectroscopy technique of both plasma types were not found to be different before and after plasma transduction. Finally inspecting sterilizing contamination of microorganisms after being bathed with the absorbances and reflation plasma found that the samples of rice flour did not find microorganisms. Therefore, It can be concluded that the plasma treatment can be a promising technology for improving functionality of flour and enhance its value in various new products.en
dc.description.abstractปัจจุบันมีการศึกษาผลิตภัณฑ์จากข้าวเพื่อนำมาเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้า เช่น ทางด้านเวชภัณฑ์ และด้านเครื่องสำอาง งานวิจัยนี้จึงสนใจศึกษาการนำเอาผลิตภัณฑ์จากแป้งมาทำการศึกษาเพื่อปรับปรุงคุณสมบัติของแป้งข้าวเพื่อใช้ในผลิตภัณฑ์สำหรับแป้งทาหน้าโดยใช้เทคนิคพลาสมา 2 ชนิดคือ พลาสมาความดันต่ำและพลาสมาไดอิเล็กทริกแบริเออร์ดิสชาร์จ ซึ่งในการศึกษานี้จะใช้พลังงานไฟฟ้าที่แตกต่างกันโดยพลาสมาความดันต่ำจะใช้กำลังไฟฟ้าที่ 50 75 100 125 และ 150 วัตต์ ส่วนพลาสมาแบบไดอิเล็กทริกแบริเออร์ดิจชาร์จจะใช้กำลังไฟฟ้าที่ 90 วัตต์ ซึ่งจากผลการทดลองหลังจากนำตัวอย่างแป้งข้าวอาบด้วยพลาสมาทดสอบผลทางด้านกายภาพและทางด้านเคมี โดยการวัดค่าของความหนาแน่นอนุมูลอิสระของพลาสมา พบว่าพลาสมาความดันต่ำตรวจพบค่าความหนาแน่นของอนุมูลอิสระที่สำคัญคือ OH  N2  Hβ และ Hα และพลาสมาแบบไดอิเล็กทริกแบริเออร์ดิจชาร์จพบอนุมูลอิสระที่สำคัญคือ N2  O และ O2 หลังจากนั้นนำไปศึกษาผลของพลาสมาต่อคุณสมบัติทางกายภาพ พบว่าแป้งข้าวที่ผ่านการอาบด้วยพลาสมาความดันต่ำมีพื้นผิวที่ขรุขระมากขึ้น เมื่อให้กำลังไฟฟ้าเพิ่มขึ้นและแป้งข้าวหลังจากอาบด้วยพลาสมาแบบไดอิเล็กทริกแบริเออร์ดิจชาร์จพบว่าตัวอย่างมีพื้นผิวที่เรียบ แต่เมื่อทำการวิเคราะห์ผลการวัดค่าความดูดซับน้ำและน้ำมันพบว่าตัวอย่างแป้งข้าวหลังอาบด้วยพลาสมาทั้งสองชนิดมีผลที่คล้ายคลึงกันคือ มีความสามารถในการดูดซับน้ำได้ลดลง แต่มีความสามารถในการดูดซับน้ำมันได้ดีขึ้น ผลทางเคมีโดยเทคนิค ATR – FTIR พบองค์ประกอบทางเคมีของคาร์โบไฮเดรต โปรตีนและไขมัน ซึ่งเป็นองค์ประกอบหลักที่มีอยู่ในแป้งข้าว และจากผลการวิเคราะห์ด้วยเทคนิค XPS พบหมู่ฟังก์ชั่นของหมู่มีขั้วเพิ่มขึ้นและหมู่ไม่มีขั้วลดลงซึ่งสอดคล้องกับผลของการดูดซับ ผลการดูดกลืนแสงและการสะท้อนแสงของตัวอย่างจากการเทคนิค UV – Visible Spectroscopy ของพลาสมาทั้งสองชนิดไม่พบว่าแตกต่างกันทั้งก่อนและหลังที่ผ่านการด้วยพลาสมา และสุดท้ายผลการตรวจสอบการฆ่าเชื้อจุลินทรีย์พบว่าตัวอย่างของแป้งข้าวไม่พบเชื้อจุลินทรีย์หลังจากนำมาอาบด้วยพลาสมา ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าพลาสมาเป็นเทคโนโลยีที่มีแนวโน้มในการปรับปรุงคุณสมบัติของแป้งและเพิ่มมูลค่าในผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ ได้ดีth
dc.language.isoth-
dc.publisherMaejo University-
dc.rightsMaejo University-
dc.subjectพลาสมาความดันต่ำ พลาสมาไดอิเล็กทริกแบริเออร์ดิจชาร์จ ข้าว การแพทย์ และเครื่องสำอางth
dc.subjectLow pressure plasma Dielectric Barrier Discharge plasma Rice Medicine and Cosmeticsen
dc.subject.classificationPhysics and Astronomyen
dc.titleA LOW PRESSURE PLASMA TREATMENT FOR QUALITY IMPROVEMENT OF RICE FLOUR. en
dc.titleพลาสมาความดันต่ำเพื่อปรับปรุงคุณภาพของแป้งข้าวth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5904307003.pdf7.41 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.