Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/885
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุภาพร ดาวทอง, suphaporn daothong-
dc.date.accessioned2022-01-25T06:33:41Z-
dc.date.available2022-01-25T06:33:41Z-
dc.date.issued2017-
dc.identifier.urihttp://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/885-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวัสดุผสมคาร์บอนและพอลิเมอร์สําหรับเป็นเคาน์เตอร์ อิเล็กโทรดในเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดสีย้อมไวแสง วัตถุดิบของวัสดุผสม คือ คาร์บอน 2 ประเภท (คาร์บอนกัมมันต์ และ ท่อนาโนคาร์บอน) ผสมกับพอลิเอทิลีนความหนาแน่นต่ําเชิงเส้น วัสดุผสม คาร์บอนและพอลิเมอร์ได้จากกระบวนการขึ้นรูปร้อน ลักษณะโครงสร้างทางสัณฐานวิทยา, สมบัติ ทางกล, สมบัติทางไฟฟ้า และ การประยุกต์ใช้สําหรับเป็นเคาน์เตอร์อิเล็กโทรคถูกวิเคราะห์ด้วย กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด, เครื่องทดสอบแรงดึง, เครื่องวัดความต้านทานแบบเข็ม ปลายแหลมสีขั้ว และ I-V tester ตามลําดับ ลักษณะโครงสร้างทางสัณฐานของวัสดุคาร์บอนและพอ ลิเมอร์ทั้ง 3 ประเภท แสดงให้เป็นว่าวัสดุผสมมีพื้นผิวไม่ราบเรียบ เกิดรูพรุนเพิ่มมากขึ้นตาม ปริมาณของคาร์บอน ผลการทดสอบสมบัติทางไฟฟ้า พบว่า ค่าความต้านทานไฟฟ้าจะลดลงเมื่อ ชิ้นงานมีอัตราส่วนคาร์บอนเพิ่มขึ้น นอกจากนี้วัสดุผสมท่อนาโนคาร์บอนและพอลิเมอร์ให้ค่า ประสิทธิภาพที่สูงเมื่อนํามาประยุกต์เป็นเคาน์เตอร์อิเล็กโทรดในเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดสีย้อมไวแสงen_US
dc.description.sponsorshipMaejo Universityen_US
dc.publisherMaejo Universityen_US
dc.subjectโพลีเอทิลีนen_US
dc.subjectวัสดุผสมen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยแม่โจ้ -- ผลงานวิจัยen_US
dc.subjectเซลล์แสงอาทิตย์en_US
dc.titleวัสดุผสมพอลีเอทิลีนและท่อนาโนคาร์บอนสำหรับเป็นขั้วเคาน์เตอร์สำหรับเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดสีย้อมไวแสงen_US
dc.title.alternativePolyethylene and carbon nanotubes composites as a counter electrode for dye-sensitized solar cellen_US
Appears in Collections:SCI-Bachelor’s Project

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
suphaporn_daothong.pdf70.4 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.