Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/868
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorนลิน วงศ์ขัตติยะ, nalin wongkattiya-
dc.contributor.authorรุ่งทิพย์ กาวารี-
dc.contributor.authorเกรียงศักดิ์ ภูดีทิพย์-
dc.contributor.authorศรีกาญจนา คล้ายเรือง-
dc.date.accessioned2022-01-21T08:13:04Z-
dc.date.available2022-01-21T08:13:04Z-
dc.date.issued2016-
dc.identifier.urihttp://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/868-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบฤทธิ์ในการยับยั้งแบคทีเรียก่อโรคจากอาหารและการ ด้านออกซิเดชั่นของสารจากสมุนไพรและเครื่องเทศ การศึกษาครั้งนี้ได้สกัดน้ํามันหอมระเหยจาก สมุนไพรและเครื่องเทศจํานวน 20 ชนิด นํามาทดสอบการยับยั้งแบคทีเรียโดยใช้วิธี agar disc diffusion และ microdilution broth การทดสอบฤทธิ์การต้านออกซิเดชั่นทําโดยวิธี DPPH และ ABTS ผลการทดลองพบว่าน้ํามันหอมระเหยจากสมุนไพรและเครื่องเทศทุกชนิดมีฤทธิ์การต้าน แบคทีเรียทั้งแกรมบวกและแกรมลบ (broad Spectrum) และมีฤทธิ์การต้านออกซิเดชั่นที่ดี โดย น้ํามันหอมระเหยกานพลูมีฤทธิ์ทั้งการต้านแบคทีเรียและต้านออกซิเดชั่นที่ดีมาก ผลที่ได้จาก งานวิจัยนี้สามารถที่นําไปใช้เป็นข้อมูลเพื่อพัฒนาการใช้สารสกัดจากเครื่องเทศและสมุนไพร ใน การยับยั้งแบคทีเรียและต้านออกซิเดชั่นต่อไปen_US
dc.description.sponsorshipMaejo Universityen_US
dc.publisherMaejo Universityen_US
dc.subjectแอนติออกซิแดนท์en_US
dc.subjectแบคทีเรียก่อโรคen_US
dc.subjectสมุนไพรen_US
dc.subjectเครื่องเทศen_US
dc.titleการศึกษาคุณสมบัติในการต้านเชื้อแบคทีเรียที่ก่อโรคที่มาจากอาหารและแอนติออกซิแดน ของสมุนไพรและเครื่องเทศของไทยen_US
dc.title.alternativeStudy of anti-foodborne bacteria and antioxidant activities of Thai herbs and spicesen_US
Appears in Collections:SCI-Bachelor’s Project

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
nalin_wongkattiya.pdf19.34 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.