Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/747
Title: การชักนําให้ต้นกล้ามะเขือเทศทนร้อนด้วยการใช้วิตามินซีและแคลเซียมคลอไรด์
Other Titles: aInduction of heat tolerance in tomato seedling by using vitamin C and Calcium Chloride
Authors: วนาลี พิงคะสัน Wanalee Phingkason
Keywords: วิตามินซี
แคลเซียมคลอไรด์
การคายระเหย
มะเขือเทศ
การควบคุมทางชีววิทยา
ความทนร้อน
Heat shock proteins
อัตราการสังเคราะห์แสง
Reactive oxygen species
Issue Date: 2016
Publisher: Chiangmai : Maejo University
Citation: http://opac.library.mju.ac.th/opac2/BibDetail.aspx?bibno=350499
Abstract: สภาวะอุณหภูมิสูงส่งผลเสียต่อการผลิตมะเขือเทศทั้งในด้านคุณภาพและปริมาณ งานวิจัยนี้ จึงทดลองใช้สารละลายวิตามินซี และสารละลายเกลือแคลเซียม เพื่อชักนําให้ต้นกล้ามะเขือเทศ ทนทานต่อสภาพอุณหภูมิสูง จากการทดลองพบว่าสารละลายวิตามินซีที่ความเข้มข้น 5 มิลลิโมลาร์ และสารละลายแคลเซียมคลอไรด์ที่ความเข้มข้น 1 และ 5 มิลลิโมลาร์ สามารถชักนําให้ต้นกล้ามะเขือ เทศทนทานต่อสภาพอุณหภูมิ 39 องศาเซลเซียส ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการพ่นสารละลายทั้ง สองชนิดให้กับต้นกล้ามะเขือเทศทางใบมีผลทําให้ค่า g Ps และค่า F/Fm อัตราการสังเคราะห์แสง อัตราการคายระเหยของน้ํา อัตราการนําไหลของปากใบ น้ําหนักสด น้ําหนักแห้งเพิ่มสูงขึ้น และทํา ให้ปริมาณมาลอนดอัลดีไฮด์เปอร์เซ็นต์การรั่วไหลของไอออน ปริมาณอนุมูลอิสระซุปเปอร์ออกไซด์ ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์และการตายของเซลล์ในต้นกล้ามะเขือเทศลดลงในสภาพอุณหภูมิสูงคําสําคัญ : มะเขือเทศ, ความทนร้อน, วิตามินซี, แคลเซียมคลอไรด์, heat shock protein, อัตราการสังเคราะห์แสง, อนุมูลอิสระ, reactive Oxygen species or BOS, สารต้านอนุมูลอิสระ อนุมูลอิสระซุปเปอร์ออกไซด์, ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์, ปริมาณมาลอนดอัลดีไฮด์, ประสิทธิภาพการทํางานสูงสุดของระบบแสงที่สอง, ประสิทธิภาพการทํางานของระบบแสง ที่สอง, อัตราการคายระเหยของน้ำ
URI: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/747
Appears in Collections:Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wanalee.pdf18.3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.