Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/65
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNuanpit Meedaychaen
dc.contributorนวลพิศ มีเดชาth
dc.contributor.advisorPhutthisun Kruekumen
dc.contributor.advisorพุฒิสรรค์ เครือคำth
dc.contributor.otherMaejo University. Agricultural Productionen
dc.date.accessioned2020-01-17T03:22:26Z-
dc.date.available2020-01-17T03:22:26Z-
dc.date.issued2020-
dc.identifier.urihttp://10.1.245.54/dspace/handle/123456789/65-
dc.descriptionMaster of Science (Master of Science (Resources Development and Agricultural Extension))en
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาทรัพยากรและส่งเสริมการเกษตร))th
dc.description.abstractThis study was conducted to investigate: 1) socio-economics attributes of farmers; 2) the farmer perception of agricultural development under Thailand’s 4.0 policy; 3) factors affecting the farmer perception of agricultural development under Thailand's 4.0 policy; and 4) problems encountered and suggestions about agricultural development under Thailand's 4.0 policy. A set of questionnaires was used for data collection administered with a sample group of 400 farmer in Sobperng sub-district, Maetaeng district, Chiangmai province. Obtained data were analyzed by using descriptive statistics and multiple regression analysis. Results of the study revealed that most of the respondents were male, 57 years old on average, upper elementary school graduates, married, and they had 3 family members on average. The respondents had 2.5 rai of land holding and 3 household workforce on average. They respondents had an income from the agricultural sector for 7,953.71 per month but they had household debts for 93,407.98 baht on average. They contacted agricultural extension workers once a year and perceived agricultural news 32 times per month on average. The respondents joined activities in their community once a month and educational trip once a year on average. It was found that the respondents perceived agricultural development under Thailand’s 4.0 policy generally at a low level. (x=2.38) The development of arable land is being recognized high level. (x=2.41) The development and products with low level. (x=2.35) Factors effecting the respondent perception of agricultural development under Thailand's 4.0 policy included educational attainment and educational trip about agriculture, sex, age, and marital status. The following were problems encountered: 1) The respondents had a small piece of land for farming and they rented the land for farming; 2) most of the farm areas had been using chemicals for a long time; 3) most of the respondents lacked of the capital for organic farming; and 4) agricultural extension agencies did not continually monitor The respondent tasks. For suggestions of the respondents, the following should be done: 1) a project related to organic farming; 2) various development projects should be monitored after the project implementation; 3) public relations must indicate obtained benefits clearly; and 4) agricultural extension agencies should support knowledge and production factors continually.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาลักษณะพื้นฐานส่วนบุคคล เศรษฐกิจ และสังคมของเกษตรกร 2) เพื่อศึกษาการรับรู้ต่อการพัฒนาการเกษตรภายใต้นโยบายไทยแลนด์ 4.0 ของเกษตรกร 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการรับรู้ต่อการพัฒนาการเกษตรภายใต้นโยบายไทยแลนด์ 4.0 ของเกษตรกร 4) เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะต่อการพัฒนาการเกษตรภายใต้นโยบายไทยแลนด์ 4.0 ของเกษตรกรใน ตำบลสบเปิง อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัย คือ เกษตรกรที่อาศัยในตำบลสบเปิง อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 400 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 57 ปี  มีระดับการศึกษาในระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย มีสถานภาพสมรส มีสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 3 คน มีรายได้ในภาคการเกษตรเฉลี่ย 7,953.71 บาทต่อเดือน มีพื้นที่ถือครองเฉลี่ย 2.51 ไร่ มีแรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย 3 คน มีหนี้สินในครัวเรือนเฉลี่ย  93,407.98 บาท เกษตรกรส่วนใหญ่มีการรับรู้ต่อการพัฒนาการเกษตรภายใต้นโยบายไทยแลนด์ 4.0 มีการติดต่อกับเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรเฉลี่ย 1 ครั้งต่อปี เกษตรกรได้รับข่าวสารผ่านสื่อโทรวิทยุ โทรทัศน์และสื่อสิ่งพิมพ์ด้านการเกษตรเฉลี่ย 32 ครั้งต่อเดือน มีการเข้าร่วมกิจกรรมในชุมชนเฉลี่ย 1 ครั้งต่อเดือน และมีประสบการณ์การอบรมดูงานด้านการเกษตรเฉลี่ย 1 ครั้งต่อปี เกษตรกรมีการรับรู้ต่อการพัฒนาการเกษตรภายใต้นโยบายไทยแลนด์ 4.0 อยู่ในระดับน้อย สำหรับปัจจัยที่มีผลต่อการรับรู้ต่อการพัฒนาการเกษตรภายใต้นโยบายไทยแลนด์ 4.0 อย่างมีนัยทางสถิติทางบวก คือ ระดับการศึกษาและการเข้าอบรมศึกษาดูงานด้านการเกษตร และปัจจัยที่มีผลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในทางลบ คือ เพศ อายุและสถานภาพของเกษตรกร (sig < 0.5) ปัญหา อุปสรรคต่อการพัฒนาการเกษตรภายใต้นโยบายไทยแลนด์ 4.0 ของเกษตรกร ที่สำคัญคือ เกษตรกรมีพื้นที่ทำการเกษตรน้อยเนื่องจากเป็นพื้นที่เช่าเพื่อทำการเกษตร พื้นที่ทำการเกษตรส่วนใหญ่มีการใช้สารเคมีในการผลิตมาอย่างยาวนาน เกษตรกรส่วนใหญ่ขาดกำลังทรัพย์ในการทำการเกษตรอินทรีย์ หน่วยงานที่เข้าไปส่งเสริมขาดการติดตามอย่างต่อเนื่อง โดยเกษตรกรมีข้อเสนอแนะเพื่อเป็นแนวทางต่อการพัฒนาการเกษตรภายใต้นโยบายไทยแลนด์ 4.0 คือ ควรมีโครงการที่จัดขึ้นเกี่ยวกับการทำการเกษตรอินทรีย์ ควรมีการติดตามผลการดำเนินงาน ควรมีการประชาสัมพันธ์อย่างชัดเจนถึงประโยชน์ที่ได้รับ และหน่วยงานส่งเสริมการเกษตรควรสนับสนุนความรู้ และปัจจัยการผลิตอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอth
dc.language.isoth-
dc.publisherMaejo University-
dc.rightsMaejo University-
dc.subjectการพัฒนาการเกษตรth
dc.subjectการรับรู้th
dc.subjectไทยแลนด์ 4.0th
dc.subjectagricultural developmenten
dc.subjectperceptionen
dc.subjectThailand 4.0en
dc.subject.classificationAgricultural and Biological Sciencesen
dc.titlePERCEPTION OF AGRICULTURAL DEVELOPMENT UNDER THAILAND'S 4.0 POLICY OF FARMERS IN SOBPERNG SUB-DISTRICT MAETAENG DISTRICT, CHIANG MAIen
dc.titleการรับรู้ต่อการพัฒนาการเกษตรภายใต้นโยบายไทยแลนด์ 4.0 ของเกษตรกรใน ตำบลสบเปิง อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Agricultural Production

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5901432005.pdf2.71 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.