Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/451
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPanuwat Singhagulen
dc.contributorภาณุวัฒน์ สิงหกุลth
dc.contributor.advisorNikorn Mahawanen
dc.contributor.advisorนิกร มหาวันth
dc.contributor.otherMaejo University. Architecture and Environmental Designen
dc.date.accessioned2021-04-08T04:52:35Z-
dc.date.available2021-04-08T04:52:35Z-
dc.date.issued2021-
dc.identifier.urihttp://10.1.245.54/dspace/handle/123456789/451-
dc.descriptionMaster of Urban and Regional Planning (Master of Urban and Regional Planning (Environmental and Urban Planning))en
dc.descriptionการวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต (การวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต (การวางผังเมืองและสภาพแวดล้อม))th
dc.description.abstract     The study of Maejo university influence the surrounding community changing for economic physical and environmental with the land use planning promote sustainable environmental. The objectives analyze Maejo university students and personnel behavior using space utilization of Maejo university influence of the surrounding community changing for economic physical and environmental for suggest the land use planning from the influence of Maejo university promote sustainable environmental into the surrounding community.      The process of study used a data collection method with the questionnaire for collect data. The Maejo University students and personnel is the sample group for collect data in order to know the behavior of using services in the Maejo University, Chiang Mai Province surrounding community for the analysis of influence of behavior using space utilization for changing economic physical and environmental.      The results of the study showed that  the sample group behavior using space utilization had  directly impacted changing for economic physical and environmental within the Maejo university surrounding community. As a result, the economic community has changed. In the past, agriculturist change of service providers because the demand of the population growth. As a consequence of the expanding land of Maejo University. the community are used to serve the demand of the university population at a result a lot of building the community area such as residence shop restaurant or a service store, etc. the change of economic and physical are related. From which the physical in community has changed. The effect of environment community that is reduced Especially with green areas within the community Which resulted in various problems.      Finally, in the area of land use planning advice, taking into account the influence of Mae Jo University on the development of areas that promote environmental quality in the surrounding communities sustainably, the recommendations for area development were divided into 3 parts, Legal side, The government and university side and suggestions for community side.      en
dc.description.abstract     การศึกษาอิทธิพลของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ต่อการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ กายภาพและสิ่งแวดล้อมของชุมชนโดยรอบ เพื่อการวางแผนการใช้ที่ดินที่ส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์พฤติกรรมการใช้พื้นที่ของนักศึกษาและบุคลากรมหาวิทยาลัยแม่โจ้ วิเคราะห์ผลกระทบจากพฤติกรรมการใช้พื้นที่ต่อการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ กายภาพและสิ่งแวดล้อมของชุมชนโดยรอบมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และเสนอแนะแนวทางการวางแผนการใช้ที่ดินคำนึงถึงอิทธิพลของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ต่อการพัฒนาพื้นที่ที่ส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ชุมชนโดยรอบอย่างยั่งยืน      โดยขั้นตอนการศึกษาใช้วิธีการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้พื้นที่ผ่านการใช้เครื่องมือคือแบบสอบถาม เพื่อเก็บข้อมูลด้านพฤติกรรมการใช้พื้นที่ของประชากรกลุ่มตัวอย่างซึ่งก็คือกลุ่มนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้ และกลุ่มของบุคลากรมหาวิทยาลัยแม่โจ้ เพื่อให้ได้ทราบถึงพฤติกรรมการเข้าไปใช้บริการในพื้นที่ชุมชนโดยรอบมหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ โดยต่อมาวิเคราะห์ถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นจากพฤติกรรมการใช้พื้นที่ต่อการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ กายภาพ และสิ่งแวดล้อมของชุมชน      ผลการศึกษาพบว่า พฤติกรรมการใช้พื้นที่ของกลุ่มประชากรตัวอย่างนั้นได้ส่งผลกระทบโดยตรงกับการเปลี่ยนแปลงทั้งทางเศรษฐกิจ กายภาพ และสิ่งแวดล้อมภายในพื้นที่ชุมชนโดยรอบมหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยที่การเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจนั้น พฤติกรรมการใช้พื้นที่ของกลุ่มประชากรตัวอย่าง ส่งผลให้สภาพเศรษฐกิจภายในชุมชนเปลี่ยนแปลงไป จากที่เคยทำเกษตรกรรมต้องเปลี่ยนมาเป็นผู้ให้บริการเพื่อตอบสนองต่อความต้องการที่เพิ่มขึ้นจากจำนวนประชากรที่เข้ามา อันเป็นผลต่อเนื่องจากการขยายตัวของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยจากการที่พื้นที่ชุมชนถูกใช้เพื่อรองรับความต้องการของประชากรมหาวิทยาลัย ส่งผลภายในพื้นที่ชุมชนเกิดอาคารสิ่งปลูกสร้างขึ้นมาเป็นจำนวนมาก ไม่ว่าจะเป็นร้านค้า ที่พักอาศัย ร้านอาหาร หรือร้านบริการประเภทต่างๆเป็นต้น โดยที่การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นของทั้งทางเศรษฐกิจและกายภาพมีความสัมพันธ์กัน ซึ่งจากการที่กายภาพภายในชุมชนได้เปลี่ยนแปลงไป ส่งผลกระทบไปถึงสิ่งแวดล้อมภายของชุมชนที่ลดลงไป โดยเฉพาะกับพื้นที่สีเขียวภายในชุมชน ซึ่งเป็นผลให้เกิดปัญหาต่างๆตามมา      จากการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากอิทธิพลการขยายของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ประกอบกับพฤติกรรมการใช้พื้นที่ของประชากรมหาวิทยาลัย การเกิดการเติบโตอย่างรวดเร็วโดยไร้แบบแผนนั้นส่งผลให้เกิดปัญหาด้านต่างๆในชุมชนตามมา ได้แก่ ปัญหาด้านกายภาพที่เกิดความแออัดของอาคาร ปัญหาเศรษฐกิจเรื่องความเหลื่อมล้ำในระบบทุนนิยม หรือปัญหาเรื่องสิ่งแวดล้อมในเรื่องของขยะมูลฝอยในพื้นที่เป็นต้น      สุดท้ายในส่วนของการเสนอแนะแนวทางการวางแผนการใช้ที่ดินคำนึงถึงอิทธิพลของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ต่อการพัฒนาพื้นที่ที่ส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ชุมชนโดยรอบอย่างยั่งยืนได้แบ่งข้อเสนอแนะในการพัฒนาพื้นที่ออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ข้อเสนอทางด้านกฏหมาย ข้อเสนอแนะสำหรับฝั่งภาครัฐและภาคมหาวิทยาลัย และข้อเสนอสำหรับชุมชน th
dc.language.isoth-
dc.publisherMaejo University-
dc.rightsMaejo University-
dc.subjectพฤติกรรมการใช้พื้นที่th
dc.subjectเมืองมหาวิทยาลัยth
dc.subjectสิ่งแวดล้อมชุมชนth
dc.subjectSpatial Behavioren
dc.subjectCampus Cityen
dc.subjectCommunity Environmenten
dc.subject.classificationEnvironmental Scienceen
dc.titleTHE INFLUENCE OF MAEJO UNIVERSITY ON ECONOMIC, PHYSICAL AND ENVIRONMENT OF SURROUNDING COMMUNITY FOR ENVIRONMENTAL SUSTAINABILITY LAND USE PLANNINGen
dc.titleการศึกษาอิทธิพลของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ต่อการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ กายภาพ และสิ่งแวดล้อมของชุมชนโดยรอบ เพื่อการวางแผนการใช้ที่ดิน ที่ส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Architecture and Environmental Design

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5919302004.pdf11.09 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.