Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/443
Title: | AGRICULTURAL INNOVATION MANAGEMENT : A CASE STUDYOF VERTICAL FORCE AIR FUMIGATION ON EXPORTEDFRESH LONGAN IN THE NORTH OF THAILAND การจัดการนวัตกรรมการเกษตร : กรณีศึกษาโรงรมซัลเฟอร์ไดออกไซด์ด้วยระบบบังคับอากาศแนวตั้งกับผลลำไยสดส่งออกทางภาคเหนือของประเทศไทย |
Authors: | Rasiga Sevilai รษิกา สีวิลัย Jaturapatr Varith จตุรภัทร วาฤทธิ์ Maejo University. Graduate School |
Keywords: | นวัตกรรมการเกษตร การรมก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซต์ ลำไยสด และเทคโนโลยีระบบบังคับอากาศแนวตั้ง agricultural innovation sulfur dioxide fumigation fresh longan vertical force air technology |
Issue Date: | 2021 |
Publisher: | Maejo University |
Abstract: | The research aimed to study the factors influencing the selection of vertical forced-air SO2 fumigation technology applicable to fresh longan fumigation houses of Thailand. The results of this study are important information to further formulate a strategic plan in order to encourage the use of this technology, particularly fresh longan exporters. There were 3 research processes as follows: 1. A survey research with a questionnaire was applied as a data collection tool to analyze the factors influencing the innovative technology selection. It found that there were 28 factors in 10 components which influenced the exporters’ decision in acquiring the technology with the sum of variance of 53.9%. 2. A prioritization of significant weighing factors was applied using SWOT technique to develop the strategic plan on encouraging the adoption of the technology in the agricultural innovation. As a result, there were 6 major components influencing the attitudes towards the adoption of vertical forced-air SO2 fumigation technology for conducting higher efficiency in fresh longan production. The strategic plan comprised of 5 main attributes, namely, 1) return on investment 2) organizational goal 3) competitiveness 4) capability of new technology adoption and 5) operation and management. These attributes were integrated into a strategic plan using TOWS Matrix. 3. Focus group was conducted to analyze and evaluate potential alternatives by groups of related specialists and experienced users in the SO2 fumigation practices. The strategic plan was deployed into the methodical guidelines such as advantage strategy, protective strategy, conversion strategy, and defensive strategy for future implementation. The five attribute-strategic plan framework would be directly applied in innovative fresh longan SO2 fumigation both in private interest and public policy. การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้นวัตกรรมของผู้ประกอบการโรงรมซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) ในลำไยสดส่งออกของประเทศไทย เพื่อนำข้อมูลที่ศึกษามากำหนดกลยุทธ์ และจัดทำแผนกลยุทธ์ สำหรับทำร่างข้อเสนอเชิงยุทธศาสตร์การใช้งานนวัตกรรมการรม SO2 ด้วยระบบบังคับอากาศแบบแนวตั้ง ให้กับผู้ประกอบการโรงรม SO2 และผู้ส่งออกลำไยสดของไทย โดยการศึกษาแบ่งเป็น 3 ขั้นตอนที่ 1. การวิจัยเชิงสำรวจ (survey research) ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการหาปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้นวัตกรรมการเกษตร วิเคราะห์โดยใช้การวิเคราะห์องค์ประกอบ (factor analysis) ผลที่ได้พบว่ามีปัจจัย 28 ปัจจัย ใน 10 องค์ประกอบ ที่ส่งผลต่อการเลือกใช้นวัตกรรมการเกษตร โดยสามารถอธิบายการเลือกใช้เทคโนโลยีได้ 53.9% ขั้นตอนที่ 2. เรียงลำดับความสำคัญของปัจจัยในการเลือกใช้เทคโนโลยี ใช้เทคนิค SWOT เพื่อหากลยุทธ์ในการเลือกใช้นวัตกรรมการเกษตร ได้เลือก 6 องค์ประกอบ ที่สามารถนำไปสร้างเป็นแผนยุทธศาสตร์ วิเคราะห์หาแนวทางในการผลักดันให้ผู้ประกอบการมาเลือกใช้เทคโนโลยีการรม SO2 ที่มีประสิทธิภาพให้เพิ่มมากขึ้นกว่าเดิม ได้กลยุทธ์ในการจัดการเทคโนโลยีการรมก๊าซ SO2 ระบบบังคับอากาศแนวตั้ง รวม 5 ด้าน คือ 1) ด้านความคุ้มค่าในการลงทุน 2) ด้านเป้าหมายองค์กร 3) ด้านความพร้อมในการแข่งขัน 4) ด้านการใช้เทคโนโลยี และ 5) ด้านการดำเนินงานและการบริหารจัดการ นำมาสร้างกลยุทธ์โดย TOWS Matrix ขั้นตอนที่ 3. จากการสนทนากลุ่ม (Focus group) ร่วมกับผู้เชี่ยวชาญและผู้มีประสบการณ์ในการใช้เทคโนโลยีโรงรม SO2 ได้นำกลยุทธ์ที่ได้แต่ละด้านมาวิเคราะห์เป็นกลยุทธ์ในแต่ละมิติ คือ กลยุทธ์เชิงรุก กลยุทธ์เชิงแก้ไข กลยุทธ์เชิงป้องกัน และกลยุทธ์เชิงรับ เสนอเป็นแนวทางที่สามารถปฏิบัติได้อย่างเป็นระบบ ได้ข้อเสนอข้อเสนอเชิงยุทธศาสตร์ที่สอดคล้องกับกลยุทธ์ทั้ง 5 ด้าน เพื่อนำไปใช้ประโยชน์กำหนดทิศทางและจัดทำแนวปฏิบัติเพื่อนำองค์ความรู้ของนวัตกรรมการเกษตรนี้ไปสู่การทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายสาธารณะ |
Description: | Doctor of Philosophy (Doctor of Philosophy (Agricultural Interdisciplinary)) ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (สหวิทยาการเกษตร)) |
URI: | http://10.1.245.54/dspace/handle/123456789/443 |
Appears in Collections: | Graduate School |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5713501002.pdf | 6.47 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.