Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/400
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSutipat Saeyangen
dc.contributorสุทธิภัทร แซ่ย่างth
dc.contributor.advisorJiraporn Inthasanen
dc.contributor.advisorจีราภรณ์ อินทสารth
dc.contributor.otherMaejo University. Agricultural Productionen
dc.date.accessioned2020-12-28T03:00:59Z-
dc.date.available2020-12-28T03:00:59Z-
dc.date.issued2020-
dc.identifier.urihttp://10.1.245.54/dspace/handle/123456789/400-
dc.descriptionMaster of Science (Master of Science (Soil Sciences))en
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ปฐพีศาสตร์))th
dc.description.abstractTo study of soil amendment on some soil chemical properties under mango canopies at Chaloem Phra Kiat District, Saraburi Province was designed by randomized completely block design (RCBD) with 6 treatments, 4 replications 1) control, 2) Biochar 10 kg/tree, 3) Chicken manure 10 kg/tree, 4) Cow manure 10 kg/tree, 5) Pumice 10 kg/tree and 6) Coarse sand 10 kg/tree. The result showed that application of at pumice decreased soil pH both in topsoil (0-15 cm) and subsoil (15-30 cm) at 12 monhs. Chicken manure caused the highest level of organic matter in topsoil. Moreover, chicken manure gave the highest extractable P both in topsoil and subsoil. On the other hand, it found that Biochar provided the highest extractable K and Mg both in topsoil and subsoil. However, extractable Ca in topsoil was increased by pumice application at 3, 6 and 9 months. Application of chicken and cow manures resulted in the highest Mn extractable in the soil at both levels. Extractable Zn showed the peak value in topsoil and subsoil by chicken manure application. Physicals properties results showed that chicken and cow manures deceased the bulk density in topsoil and pumice treatmant deceased the bulk density in subsoil at 6 and 12 months reaspectivety. Adding biochar caused the lowest bulk density at 12 months. Pumice and cow manure aplication increased significant soil moisture in both top and subsoil at 6, 9 and 12 months. Biochar applicaytion gave the highest soil aggregate both at 6 and 12 months. Soil amendments could not change in the soil texture proportion of both soil levels. Soil biological properties results showed that adding cow manue caused the highest amount of bacteria (5.49x106 CFU) at 12 months. The application of chicken manure increased the amount of fungi at 4.91x103 and 1.93x104 CFU after 3 and 6 months respectively. While usage of biochar increased the amount of fungi from 4.69x104  at 9 months to 4.74x105 CFU at 12 months. The application of chicken manure provided the actinomycetes population at 6, 9 and 12 months at 2.73x105, 3.08x106 and 3.40x106 CFU respectively. en
dc.description.abstractการศึกษาผลของวัสดุปรับปรุงดินต่อสมบัติของดินใต้ทรงพุ่มมะม่วง ในพื้นที่อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี ทำการศึกษาระหว่างเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2560 – กรกฎาคม พ.ศ. 2561 วางแผนการทดลองแบบสุ่มลงในบล็อกอย่างสมบูรณ์ (Randomized Complete Block Design: RCBD) ประกอบด้วย 6 ตำรับ 4 ซ้ำ ดังนี้ 1) ตำรับควบคุม 2) ถ่านชีวภาพ 10 กิโลกรัมต่อต้น 3) มูลไก่ 10 กิโลกรัมต่อต้น 4) มูลวัว 10 กิโลกรัมต่อต้น 5) พัมมิซ 10 กิโลกรัมต่อต้น และ 6) ทรายหยาบ 10 กิโลกรัมต่อต้น ผลการทดลองพบว่า หลังจากใส่วัสดุปรับปรุงดินนาน 12 เดือน การใส่พัมมิซส่งผลทำให้ค่าความเป็นกรด-ด่างของดินลดลงทั้งดินระดับบน (0-15 ซม.) และระดับล่าง (15-30 ซม.) ส่วนการใส่มูลไก่มีผลทำให้ปริมาณอินทรียวัตถุในดินระดับดินบนสูงขึ้น ปริมาณฟอสฟอรัสที่สกัดได้สูงที่สุดเมื่อมีการปรับปรุงดินด้วยมูลไก่ทั้งดินระดับบนและดินระดับล่าง การใส่ถ่านชีวภาพช่วยมีผลทำให้ปริมาณโพแทสเซียมและแมกนีเซียมที่สกัดได้ในดินเพิ่มขึ้นสูงที่สุด ทั้งในดินระดับบนและดินระดับล่าง ปริมาณแคลเซียมที่สกัดได้ในดินหลังจากทำการใส่วัสดุปรับปรุงดินในเดือนที่ 3, 6 และ 9 มีปริมาณสูงที่สุดเมื่อมีการใส่พัมมิซที่ดินระดับบน การใส่มูลไก่และมูลวัวมีผลทำให้ปริมาณแมงกานีสที่สกัดได้ในดินเพิ่มสูงที่สุดในดินทั้งสองระดับ และปริมาณสังกะสีที่สกัดได้ในดินระดับบนและดินระดับล่างสูงที่สุดเมื่อมีการใส่มูลไก่ สมบัติทางกายภาพของดินพบว่าการใส่มูลไก่และมูลวัวที่ระยะเวลา 6 และ 12 เดือน ทำให้ความหนาแน่นรวมของดินลดลงที่ระดับบน ส่วนในดินระดับล่างพบว่าการใส่พัมมิซสามารถลดความหนาแน่นรวมของดิน การใส่ถ่านชีวภาพทำให้ความหนาแน่นรวมลดน้อยที่สุดหลังจากการใส่ 12 เดือน มูลวัวและพัมมิซทำให้ความชื้นของดินเพิ่มสูงขึ้น ทั้งในดินบนและดินล่าง หลังจากการใส่ 6, 9 และ 12 เดือน อย่างมีนัยสำคัญ การใส่ถ่านชีวภาพมีผลทำให้ความคงทนของเม็ดดินเพิ่มสูงขึ้น ทั้งในระยะ 6 และ 12 เดือน การใส่วัสดุปรับปรุงดินทุกชนิดไม่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนของเนื้อดินทั้ง 2 ระดับ สมบัติทางชีวภาพของดิน พบว่าการใส่มูลวัวทำให้ปริมาณแบคทีเรียในดินเพิ่มที่สุดที่ 12 เดือน 5.49x106 CFU ส่วนการใส่มูลไก่ในช่วง 3 และ 6 เดือนแรก ทำให้ปริมาณเชื้อราในดินเพิ่มขึ้น คือ 4.91x103 และ 1.93x104 CFU ขณะที่ช่วง 9 และ 12 เดือน การใส่ถ่านชีวภาพทำให้ปริมาณเชื้อราในดินเพิ่มขึ้นคือ 4.69x104 และ 4.74x105 CFU ตามลำดับ การใส่มูลไก่มีผลทำให้ปริมาณแอคติโนมัยซีทในดินมากที่สุดที่ช่วง 6, 9 และ 12 เดือน คือ 2.73x105, 3.08x106 และ 3.40x106 CFU ตามลำดับ th
dc.language.isoth-
dc.publisherMaejo University-
dc.rightsMaejo University-
dc.subjectวัสดุปรับปรงดินth
dc.subjectสมบัติของดินth
dc.subjectมะม่วงth
dc.subjectsoil amendmenten
dc.subjectsoil propertiesen
dc.subjectmangoen
dc.subject.classificationAgricultural and Biological Sciencesen
dc.titleEFFECT OF SOIL AMENDMENTS ON SOIL PROPERTIES UNDER MANGO CANOPIES AT CHALOEM PHRA KIAT DISTRICT, SARABUREE PROVINCEen
dc.titleผลของวัสดุปรับปรุงดินต่อคุณสมบัติของดินใต้ทรงพุ่มมะม่วง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรีth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Agricultural Production

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5901313004.pdf2.83 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.