Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/397
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Techit Prapoowong | en |
dc.contributor | เตชิต พระภูวงศ์ | th |
dc.contributor.advisor | Luxana Summaniti | en |
dc.contributor.advisor | ลักษณา สัมมานิธิ | th |
dc.contributor.other | Maejo University. Architecture and Environmental Design | en |
dc.date.accessioned | 2020-12-28T02:59:22Z | - |
dc.date.available | 2020-12-28T02:59:22Z | - |
dc.date.issued | 2020 | - |
dc.identifier.uri | http://10.1.245.54/dspace/handle/123456789/397 | - |
dc.description | Master of Urban and Regional Planning (Master of Urban and Regional Planning (Environmental and Urban Planning)) | en |
dc.description | การวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต (การวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต (การวางผังเมืองและสภาพแวดล้อม)) | th |
dc.description.abstract | The objectives of this research study were to analyze spatial changes and to analyze the amorphous structure of the traffic network and related factors in Nimmanhaemin District in Chiang Mai. The research methods were document analysis, space exploration, Geo Information System and Space Syntax model. It was found that there were 3 main spatial changes in Nimmanhaemin District, namely: the urban development period between 1964 and 1997, the period of urban identity between 1998 and 2008, and the smart city development period between 1994 and 1999. The key factors involved in the changes included the development of the traffic networks, the Urban Development Plan, Urban Planning, Creative Economy, Social Media, Tourism, and Smart City Strategies. As for the amorphous structure of the district, there was Nimmanhaemin Road in a lining form as the main route along the district. The secondary road was in a herringbone form and an original local road was in an independent form. On average, the potential accessibility value to the traffic network in the Nimmanhaemin District on year 2002 at the Global Integration Value was 1.010410, the minimum value was 0.545467 and the maximum value was 1.969744. On average, the potential accessibility value to only the traffic network in the Nimmanhaemin District at the Local Integration Value was 1.451850, a minimum of 0.422392, and a maximum of 2.780000. As for the potential accessibility value to traffic network itself, on average, at the Connectivity Integration Value was 2.741940, a minimum of 1.000000, a maximum of 12.000000. For year 2019. On average, the potential accessibility value to the traffic network in the Nimmanhaemin District at the Global Integration Value was 1.027880, the minimum value was 0.540112 and the maximum value was 2.030422. On average, the potential accessibility value to only the traffic network in the Nimmanhaemin District at the Local Integration Value was 1.430300, a minimum of 0.333333, and a maximum of 3.125447. As for the potential accessibility value to traffic network itself, on average, at the Connectivity Integration Value was 2.682350, a minimum of 1.000000, a maximum of 16.000000. The isovist fields of vision of the district with good visibility was found in the main and secondary intersection areas. The potential access to the district was corresponding with the utilization of buildings, the amount of traffic during the week and weekends, and types of activities in the district. These affected the participation of local people and the liveliness of the district with a variety of activities in various periods. However, there are some suggestions worth considerations to improve the traffic network in the area. The footpaths, landscapes and walking facilities to promote area utilization and walking should be improved. They can be suitable to make the Nimmanhaemin District be a smart district of Chiang Mai in the future. | en |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงเชิงพื้นที่ วิเคราะห์ลักษณะโครงสร้างเชิงสัณฐานของโครงข่ายสัญจรและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง และเสนอแนวทางการพัฒนาพื้นที่ทางสังคมของย่านนิมมานเหมินท์ วิธีการวิจัยใช้การวิเคราะห์เอกสาร สำรวจพื้นที่ ร่วมกับระบบภูมิสารสนเทศและแบบจำลองเชิงพื้นที่ สเปซ ซินเท็กซ์ ผลวิจัยพบว่า ย่านนิมมานเหมินท์มีการเปลี่ยนแปลงเชิงพื้นที่สำคัญ 3 ช่วงเวลา ได้แก่ ช่วงเวลาพัฒนาย่านของเมือง ระหว่างปี พ.ศ. 2507 – 2540 ช่วงเวลาย่านอัตลักษณ์เมือง ระหว่างปี พ.ศ. 2541 – 2551 และช่วงเวลาการพัฒนาสู่ย่านอัจฉริยะ ระหว่างปี พ.ศ. 2552 – ปัจจุบัน มีปัจจัยสำคัญเกี่ยวข้อง ได้แก่ การพัฒนาโครงข่ายสัญจร แผนพัฒนาเมือง การผังเมือง เศรษฐกิจสร้างสรรค์ สื่อสังคมออนไลน์ การท่องเที่ยว และยุทธศาสตร์เมืองอัจฉริยะ ลักษณะโครงสร้างเชิงสัณฐานของย่านมีแนวถนนนิมมานเหมินท์เป็นถนนสายหลักรูปแบบเส้น ถนนสายรองเป็นถนนซอยรูปแบบก้างปลา และถนนภายในชุมชนเดิมรูปแบบอิสระ ศักยภาพการเข้าถึงพื้นที่ของโครงข่ายสัญจรย่านนิมมานเหมินท์ ปี พ.ศ. 2545 ในระดับรวมมีค่าเฉลี่ย 1.010410 ค่าต่ำสุด 0.545467 และค่าสูงสุด 1.969744 ระดับย่านมีค่าเฉลี่ย 1.451850 ค่าต่ำสุด 0.422392 และค่าสูงสุด 2.780000 และในระดับตัวเอง มีค่าเฉลี่ย 2.741940 ค่าต่ำสุด 1.000000 ค่าสูงสุด 12.000000 สำหรับปี พ.ศ. 2562 ศักยภาพการเข้าถึงพื้นที่ของโครงข่ายสัญจรย่านนิมมานเหมินท์ ในระดับรวมมีค่าเฉลี่ย 1.027880 ค่าต่ำสุด 0.540112 และค่าสูงสุด 2.030422 ระดับย่านมีค่าเฉลี่ย 1.430300 ค่าต่ำสุด 0.333333 และค่าสูงสุด 3.125447 และในระดับตัวเอง มีค่าเฉลี่ย 2.682350 ค่าต่ำสุด 1.000000 ค่าสูงสุด 16.000000 ส่วนสนามทัศน์ของย่านมีศักยภาพการมองเห็นที่ดีพบในพื้นที่จุดตัดโครงข่ายสัญจรหลักและรอง สำหรับค่าศักยภาพการเข้าถึงพื้นที่ของย่าน มีความสอดคล้องกับการใช้ประโยชน์อาคาร อัตราการสัญจรของพื้นที่ย่านในวันระหว่างสัปดาห์ วันสุดสัปดาห์ และช่วงกิจกรรมงานประจำปี สอดคล้องกับรูปแบบกิจกรรมของพื้นที่ ส่งผลต่อการเข้าร่วมของผู้คนในพื้นที่ความมีชีวิตชีวาอย่างหลากหลายกิจกรรมและช่วงเวลา อย่างไรก็ดีข้อพิจารณาเพื่อปรับปรุงพื้นที่ของโครงข่ายสัญจรจำเป็นต้องคำนึงถึงบาทวิถี ภูมิทัศน์ และสิ่งอำนวยความสะดวกประกอบบริเวณ ที่ส่งเสริมต่อการใช้สอยพื้นที่และการเดินเท้า ได้อย่างเหมาะสมกับย่านสมาร์ทนิมมานเหมินท์ของเมืองเชียงใหม่ต่อไป | th |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | Maejo University | - |
dc.rights | Maejo University | - |
dc.subject | ย่าน | th |
dc.subject | การเปลี่ยนแปลงเชิงพื้นที่ | th |
dc.subject | โครงสร้างสัณฐาน | th |
dc.subject | สเปซ ซินแทกซ์ | th |
dc.subject | นิมมานเหมินท์ | th |
dc.subject | District | en |
dc.subject | Spatial Change | en |
dc.subject | Morphological Structure | en |
dc.subject | Space Syntax | en |
dc.subject | Nimmanhaemin | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | SPATIAL LOGIC OF SPACE TRANSFORMATION CASE STUDY NIMMANHAEMIN DISTRICT, CHIANG MAI. | en |
dc.title | การเปลี่ยนแปลงตรรกะพื้นที่ของสังคม กรณีศึกษาย่านนิมมานเหมินท์ เมืองเชียงใหม่ | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | Architecture and Environmental Design |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6019302006.pdf | 14.45 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.