Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/362
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorYuwarat Chantasuken
dc.contributorยุวรัตน์ จันทสุขth
dc.contributor.advisorSaengtong Pongjaroenkiten
dc.contributor.advisorแสงทอง พงษ์เจริญกิตth
dc.contributor.otherMaejo University. Scienceen
dc.date.accessioned2020-12-28T02:35:26Z-
dc.date.available2020-12-28T02:35:26Z-
dc.date.issued2020-
dc.identifier.urihttp://10.1.245.54/dspace/handle/123456789/362-
dc.descriptionMaster of Science (Master of Science (Genetics))en
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (พันธุศาสตร์))th
dc.description.abstractGenetics of fertility restoration in wild abortive cytoplasmic male sterility (WA-CMS) was studied in Khao Dawk Mali 105 (KDML 105) and Suphan Buri 1 (SPR1) using DNA markers. The classification by Rf3 and Rf4 gene markers which were reported as WA-CMS restorer genes revealed that KDML 105 was maintainer (B-line) and SPR1 was restorer (R-line). The inheritance of fertility restoration study in F2 population of IR58025AxSPR1 showed a segregation ratio of 3:1 for pollen fertility, indicating one nuclear dominant gene involved in fertility restoration. The analysis of an influence between the restorer genes and pollen fertility by ANOVA and regression revealed that PPR9 and/or PPR10 genes at Rf4 locus have influence to pollen fertility. Therefore PPR9 and/or PPR10 genes are male sterility restorer gene of WA-CMS in SPR1.en
dc.description.abstractการศึกษาความสามารถของยีนแก้ความเป็นหมัน ระบบ Wild Abortive Cytoplasmic male sterility (WA-CMS) ในข้าวสายพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 และสุพรรณบุรี 1 ด้วยการจัดกลุ่มด้วยเครื่องหมายดีเอ็นเอตำแหน่ง Rf3 และ Rf4 ที่มีรายงานเป็นยีนแก้ความเป็นหมันของระบบ WA-CMS พบว่าพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 เป็นสายพันธุ์รักษาความเป็นหมันของเรณู ส่วนพันธุ์สุพรรณบุรี 1 เป็นสายพันธุ์แก้ความเป็นหมันของเรณู โดยการศึกษาการถ่ายทอดลักษณะแก้ความเป็นหมันของเรณู ในประชากร F2 ระหว่างพันธุ์เรณูเป็นหมัน IR58025A และพันธุ์สุพรรณบุรี 1 พบการกระจายตัวของเรณูปกติต่อเรณูเป็นหมันเป็น 3 ต่อ 1 แสดงว่าลักษณะแก้ความเป็นหมันของข้าวพันธุ์สุพรรณบุรี 1 ควบคุมด้วยยีนภายในนิวเคลียส 1 คู่ ซึ่งผลการทดสอบความมีอิทธิพลของยีนแก้หมันกับความมีชีวิตของเรณูด้วยการวิเคราะห์ความแปรปรวน (ANOVA) พบว่ายีนตำแหน่ง Rf4  คือ ยีน PPR9 และ/หรือยีน PPR10 มีอิทธิพลต่อการแก้หมันของเรณู ในข้าวพันธุ์สุพรรณบุรี 1 ผลการศึกษานี้ทำให้เห็นว่าข้าวไทยพันธุ์สุพรรณบุรี 1 มียีน PPR9 และ/หรือ PPR10 เป็นยีนแก้ความเป็นหมันของเรณูในระบบ WA-CMSth
dc.language.isoth-
dc.publisherMaejo University-
dc.rightsMaejo University-
dc.subjectข้าวพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105th
dc.subjectข้าวพันธุ์สุพรรณบุรี 1th
dc.subjectระบบหมัน Wild Abortive Cytoplasmic male sterility (WA-CMS)th
dc.subjectยีนแก้หมันth
dc.subjectเครื่องหมายดีเอ็นเอth
dc.subjectKhao Dawk Mali 105en
dc.subjectSuphan Buri 1en
dc.subjectWild Abortive Cytoplasmic Male Sterility (WA-CMS)en
dc.subjectRestorer geneen
dc.subjectDNA markersen
dc.subject.classificationBiochemistryen
dc.subject.classificationAgricultural and Biological Sciencesen
dc.titleRESTORATION MALE STERILITY STUDY OF WA-CMS IN THAI RICE USING DNA MARKERSen
dc.titleการศึกษาการแก้ความเป็นหมันของเรณูระบบ WA-CMS ในข้าวไทยโดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6004304001.pdf5.26 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.