Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/35
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWonradet Dutsadeesongen
dc.contributorวรเดช ดัสดีสองth
dc.contributor.advisorTipsuda Tangtragoonen
dc.contributor.advisorทิพย์สุดา ตั้งตระกูลth
dc.contributor.otherMaejo University. Agricultural Productionen
dc.date.accessioned2020-01-17T03:22:14Z-
dc.date.available2020-01-17T03:22:14Z-
dc.date.issued2018-
dc.identifier.urihttp://10.1.245.54/dspace/handle/123456789/35-
dc.descriptionMaster of Science (Geosocial Based Sustainable Development)en
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การพัฒนาภูมิสังคมอย่างยั่งยืน))th
dc.description.abstractThis study was conducted to investigate: 1) variety distribution and morphology of Nok Khum Fai orchid by field survey together with the orchid conservation and utilization group of baan Pongkrai community; 2) participation process of the orchid conservation and utilization group in the investigation of the orchid growing materials for the conservation and utilization; and 3) guidelines for the activity operation, problems encountered and suggestion. Data were obtained through focus group discussion, participatory process, and interview schedule administered with a sample group of the orchid conservation and utilization members and they were obtained by purposive sampling. Obtained data were analyzed by using descriptive statistics and content analysis. Results of the study revealed that the orchid variety distribution was found density on the area of 1,082-1,094 above the sea level (57 orchid plants). It was found that the appropriate orchid growing materials were the mixture of decayed leaves, chopped coconut, and charcoal with the ratio of 1:1:1, respectively. This had an effect on growth performance of the orchid based on height, bush size, and leaf size. Based on guidelines for the activity operation, problems encountered, and suggestions, it was found that the orchid growing place should be a leaning source in terms of conservation, utilization, and improvement of appropriate orchid growing materials. Also, this must be appropriate with geosocial conditions of the community.en
dc.description.abstractการศึกษาการมีส่วนร่วมของกลุ่มอนุรักษ์กล้วยไม้ในการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์กล้วยไม้ดินนกคุ้มไฟ ชุมชนบ้านปงไคร้ ตำบลโป่งแยง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการกระจายพันธุ์และสัณฐานวิทยาของกล้วยไม้ดินนกคุ้มไฟโดยวิธีการเดินสำรวจร่วมกับกลุ่มอนุรักษ์กล้วยไม้และใช้ประโยชน์บ้านปงไคร้ 2) ศึกษากระบวนการมีส่วนร่วมของกลุ่มอนุรักษ์กล้วยไม้ ในการศึกษาวัสดุปลูกและการเจริญเติบโตเพื่อการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์ และ 3) ศึกษาแนวทางการดำเนินกิจกรรม ปัญหา และข้อเสนอแนะในการอนุรักษ์กล้วยไม้ดินนกคุ้มไฟ การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสนทนากลุ่ม กระบวนการมีส่วนร่วม และแบบสัมภาษณ์ โดยเลือกสมาชิกกลุ่มอนุรักษ์กล้วยไม้ ซึ่งเป็นคณะกรรมการในการดำเนินกิจกรรมของกลุ่มอนุรักษ์กล้วยไม้แบบเจาะจง และทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลของการศึกษาวิจัยสรุปได้ดังนี้ จากการสำรวจป่าชุมชนบ้านปงไคร้ร่วมกับสมาชิกกลุ่มอนุรักษ์กล้วยไม้ พบการกระจายพันธุ์ของกล้วยไม้ดินนกคุ้มไฟ พบการกระจายพันธุ์หนาแน่นที่ระดับความสูง 1,082 – 1,094 เมตร จากระดับน้ำทะเล จำนวน 57 ต้น ส่วนการศึกษาวัสดุปลูกที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของกล้วยไม้ดินนกคุ้มไฟ สมาชิกกลุ่มร่วมค้นหาปัญหาและสาเหตุของการลดจำนวนของปริมาณกล้วยไม้ดินนกคุ้มไฟในสภาพธรรมชาติ ได้ร่วมกันวางแผนเพื่อปฏิบัติการในการเพิ่มปริมาณให้มากขึ้นในสภาพธรรมชาติและการปลูกเลี้ยงในสภาพโรงเรือนเพื่อการใช้ประโยชน์ ในการจำหน่ายเพื่อสร้างรายได้ให้แก่สมาชิกกลุ่ม รวมถึงการร่วมติดตามปประเมินผลจากการวิจัย พบว่าวัสดุปลูกที่มีส่วนผสมของ ใบไม้ผุ มะพร้าวสับ และถ่าน ในอัตราส่วน 1:1:1 มีผลต่อการเจริญเติบโตในส่วนของลำต้น ความสูง และวัสดุปลูกที่มีส่วนผสมใบไม้ผุ มะพร้าวสับ และเปลือกถั่ว ในอัตราส่วน 1:1:1 มีผลต่อขนาดของทรงพุ่ม และขนาดใบ ส่วนแนวทางการดำเนินกิจกรรม แก้ไขปัญหาและข้อเสนอแนะในการอนุรักษ์กล้วยไม้ดินนกคุ้มไฟ พบว่าควรจัดให้เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการอนุรักษ์ และการใช้ประโยชน์ การปรับปรุงวัสดุปลูกให้เกิดความเหมาะสมยิ่งขึ้น รวมถึงการปลูกเลี้ยงเพื่อความสวยงามเพื่อประโยชน์ด้านอื่นให้เกิดความเหมาะสมกับสภาพภูมิสังคมของชุมชนth
dc.language.isoth-
dc.publisherMaejo University-
dc.rightsMaejo University-
dc.subjectการมีส่วนร่วมth
dc.subjectการอนุรักษ์th
dc.subjectกล้วยไม้สมุนไพรนกคุ้มไฟth
dc.subjectparticipationen
dc.subjectconservationen
dc.subjectNok Khum Fai orchiden
dc.subject.classificationAgricultural and Biological Sciencesen
dc.titlePARTICIPATION OF ORCHID CONSERVATION GROUP IN CONCERVATION AND UTILIZATION OF NOK KHUM FAI ORCHID, BAAN PONGKRAI, PONGYANG SUB-DISTRICT, MAERIM DISTRICT, CHIAMG MAI PROVINCEen
dc.titleการศึกษาการมีส่วนร่วมของกลุ่มอนุรักษ์กล้วยไม้ในการอนุรักษ์และ การใช้ประโยชน์กล้วยไม้ดินนกคุ้มไฟ ชุมชนบ้านปงไคร้ ตำบลโป่งแยง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Agricultural Production

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5801417011.pdf3.28 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.