Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/29
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorAmpol Sornsaketen
dc.contributorอำพล สอนสระเกษth
dc.contributor.advisorNopporn Boonploden
dc.contributor.advisorนพพร บุญปลอดth
dc.contributor.otherMaejo University. Agricultural Productionen
dc.date.accessioned2020-01-17T03:22:11Z-
dc.date.available2020-01-17T03:22:11Z-
dc.date.issued2019-
dc.identifier.urihttp://10.1.245.54/dspace/handle/123456789/29-
dc.descriptionMaster of Science (Master of Science (Horticulture))en
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (พืชสวน))th
dc.description.abstractThe study on date plam cv. Maejo 36 aimed to develop date palm in vitro propagation techniques. Nowadays, seeding is a widely-used method for date plam propagation in Thailand. Therefore, factors affecting date palm seed germination at different temperatures were studied. The study started with washing and sterilizing seeds under in vitro condition and kept in darkness at temperatures of 25, 28 and 30 ๐C for 35 days. It was found that the seeds kept in 30 ๐C condition had 80% of seed germination with the highest growth index at 0.377 plants/day.  The length of germinated tube was 132.47 mm. The study on callus induction by using parts of date palm embryo at 1 - 5 months after pollination were cultured on MS media with different concentrations of 2,4-D and dicamba. The results revealed that the embryos at 3, 4 and 5 months after pollination, cultured on MS media with all concentrations of dicamba could induce callus 85 - 100%, while MS media with 2,4-D at concentration 6, 8 and 10 mg/L could induce callus to 90 - 100 % and 2,4-D at concentrations of 4 and 6 mg/L gave high callus fresh weight at 0.88 and 0.89 grams, respectively. The study on development of callus to shoot formation it was found that the callus induced by 2,4-D from 4 months after pollination embryo age tissue had a 100 % survival after subculture and could be induced to shoot formation as high as 32 % within 8 weeks on 45 g / L sucrose MS media without any plant growth regulators.en
dc.description.abstractการศึกษาการขยายพันธุ์อินทผลัม พันธุ์แม่โจ้ 36 มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเทคนิคการขยายพันธุ์อินทผลัมในสภาพปลอดเชื้อ ปัจจุบันการเพาะเมล็ดเป็นวิธีการขยายพันธุ์ที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายในประเทศไทย จึงทำการศึกษาผลกระทบต่อการงอกของเมล็ดโดยใช้อุณหภูมิที่ต่างกัน เริ่มทำการศึกษาโดยนำเมล็ดมาทำการฟอกฆ่าเชื้อแล้วเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อในอุณหภูมิที่แตกต่างกันคือ 28 และ 30 องศาเซลเซียส โดยเทียบกับชุดควบคุมคืออุณหภูมิที่ 25 องศาเซลเซียส เก็บเมล็ดไว้ในที่มืดตลอดระยะเวลา 35 วัน พบว่า เมล็ดที่เพาะในอุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียสมีเปอร์เซ็นต์การงอกสูงถึง  80 เปอร์เซ็นต์ ค่าดัชนีความเร็วในการงอกสูงสุดคือ 0.377 ต้นต่อวัน และความยาว germinated tube ยาวถึง 132.47 มิลลิเมตร จากการศึกษาการชักนำแคลลัสโดยการใช้ชิ้นส่วนเอ็มบริโอของอินทผลัม ทำการทดลองโดยการนำเอ็มบริโอหลังได้รับการผสมเกสรอายุ 1 – 5 เดือน มาเลี้ยงบนอาหารแข็งสูตร MS ร่วมกับ 2,4-D และ dicamba ที่ระดับความเข้มข้นแตกต่างกัน ผลการทดลอง พบว่า เอ็มบริโออายุ 3, 4 และ 5 เดือนหลังได้รับการผสมเกสรที่เลี้ยงบนอาหารแข็งสูตร MS ร่วมกับ dicamba ทุกความเข้มข้น สามารถชักนำแคลลัสได้ 85 - 100 เปอร์เซ็นต์ ในขณะที่อาหารแข็งสูตร MS ร่วมกับ 2,4-D ความเข้มข้น 6, 8 และ 10 มิลลิกรัมต่อลิตร สามารถชักนำ เอ็มบริโออายุ 3 และ 4 เดือนหลังได้รับการผสมเกสร ให้เกิดแคลลัสได้ 90 - 100 เปอร์เซ็นต์ และ 2,4-D ความเข้มข้น 4 และ 6 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้น้ำหนักสดแคลลัสสูงถึง 0.88 และ 0.89 กรัม ตามลำดับ จากนั้นทำการย้ายแคลลัสลงอาหารสูตรใหม่เพื่อศึกษาการพัฒนาของแคลลัสต่อการชักนำให้เกิดยอด พบว่า แคลลัสที่ชักนำด้วย 2,4-D จากเนื้อเยื่อเอ็มบริโออายุ 4 เดือนหลังได้รับการผสมเกสร มีการรอดหลังการย้ายอาหารสูงถึง 100 เปอร์เซ็นต์ และสามารถชักนำให้เกิดยอดได้สูงถึง 32 เปอร์เซ็นต์ บนอาหารแข็งสูตร MS ที่มีปริมาณน้ำตาล Sucrose ความเข้นข้น 45 กรัมต่อลิตร ในระยะเวลา 8 สัปดาห์th
dc.language.isoth-
dc.publisherMaejo University-
dc.rightsMaejo University-
dc.subjectอินทผลัมth
dc.subjectเอ็มบริโอth
dc.subjectสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชth
dc.subjectแคลลัสth
dc.subjectdate plamen
dc.subjectembryoen
dc.subjectplant growth regulatoren
dc.subjectcallusen
dc.subject.classificationAgricultural and Biological Sciencesen
dc.titleMICROPROPAGATION OF DATE PALM MAEJO 36 CULTIVAR (Phoenix dactylifera L. cv.MAEJO 36) en
dc.titleการขยายพันธุ์อินทผลัม พันธุ์แม่โจ้ 36 (Phoenix dactylifera L. cv.MAEJO 36) ในสภาพปลอดเชื้อth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Agricultural Production

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5801302011.pdf2.51 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.