Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/267
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorManichan Phetthavongen
dc.contributorManichan Phetthavongth
dc.contributor.advisorMongkol Yachaien
dc.contributor.advisorมงคล ยะไชยth
dc.contributor.otherMaejo University. Animal Science and Technologyen
dc.date.accessioned2020-01-28T04:15:06Z-
dc.date.available2020-01-28T04:15:06Z-
dc.date.issued2019-
dc.identifier.urihttp://10.1.245.54/dspace/handle/123456789/267-
dc.descriptionMaster of Science (Master of Science (Animal Science))en
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สัตวศาสตร์))th
dc.description.abstractThis study of fermented dried paper mulberry leaves in feed on growth performance, nutritive digestibility and carcass quality of fattening pigs. Divided into 2 experiments. Experiment 1. Study on nutritive digestibility in feed experiment was designed on 4x4 Latin square using hybrid male pig (Duroc x Large white x Landrace) the average weight 35 kg per pig, one pig per cage, total 4 pigs. Feed diet to all pig by 4 formation of feed: feed mixed with fermented dried paper mulberry leaf silage (PMLS) on 0, 3, 6 and 9 % (T1, T2, T3 and T4). It found that the use (PLMS) at different levels had not any effect on the percentage of DM digestibility (P>0.05) but effect on CP, EE  and DE digestibility with T3 group (3 %) was higher than control, 6 % and 9% group (P<0.05). The digestibility of CF, Ash and ABV was higher than every (PMLS) groups (P<0.05) NFE digestibility found that control and 3% group was higher than 6 and 9 % (P<0.05). ABV digestibility with 9% being lower than control, 3 and 6% (P<0.05). Experiment 2. Study on growth performance and carcass quality of fattening pig was divided to Randomized Complete Block Design (RCBD) included 4 treatments, 5 replication per each group and 2 pig per replication (male and female) the average starting weight 20 kg total number 40 pigs. Using the same feed formula as experiment 1 all of experiment found that growth performance, carcass characteristics, meat quality and feed cost per gain 1 kg (THB) all the experiment group not significant (P>0.05). It was found that using (PMLS) dietary with different percentage had an effect on warm carcass and cool carcass weight (P<0.05) especially using (PMLS) 9 % the weight reduced.   From this study it can be concluded that the use of PMLS with 3 and 6 % are appropriate to growth performance and carcass characteristic of pig, but the use (PMLS) at 9 % reduced growth performance slightly.en
dc.description.abstractการศึกษาการใช้ใบปอสาหมักแห้งในอาหารต่อการย่อยได้ สมรรถภาพการเจริญเติบโต และคุณภาพซากของสุกรครั้งนี้ แบ่งออกเป็น 2 การทดลองดังนี้ การทดลองที่ 1 การศึกษาการย่อยได้ของโภชนะในอาหาร โดยการวางแผนการทดลองแบบ 4x4  ลาตินสแควร์ (4x4 Latin square) โดยใช้สุกรเพศผู้ตอน ลูกผสม 3 สายพันธุ์ (ดูรอค x ลาร์จไวท์ x แลนด์เรซ) น้ำหนักเริ่มต้นเฉลี่ย 35 กิโลกรัมต่อตัว จำนวน 4 ตัว นำไปขังเดี่ยวในกรงเพื่อหาค่าการย่อยได้ ให้สุกรทุกตัวได้รับอาหาร 4 สูตร ดังนี้ อาหารผสมใบปอสาหมักแห้งที่ระดับ 0, 3, 6 และ 9 % (T1, T2, T3 และ T4 ตามลำดับ) พบว่าการใช้ใบปอสาหมักแห้งในสูตรอาหารสุกรในระดับที่แตกต่างกันไม่ส่งผลต่อเปอร์เซ็นต์การย่อยได้ของวัตถุแห้ง (P>0.05) แต่ส่งผลต่อเปอร์เซ็นต์การย่อยได้ของโปรตีน ไขมัน และพลังงานย่อยได้ในกลุ่มที่ใช้ใบปอสาหมักแห้งที่ระดับ 3 % มีค่าสูงกว่ากลุ่มควบคุม และกลุ่มที่ใช้ใบปอสาหมักแห้งที่ระดับ 6 และ 9 % (P<0.05) เปอร์เซ็นต์การย่อยได้ของเยื่อใย เถ้า และค่าชีวภาพปรากฏ กลุ่มควบคุมมีค่าสูงกว่ากลุ่มที่ใช้ใบปอสาหมักแห้งทุกระดับ (P<0.05) เปอร์เซ็นต์การย่อยได้ของคาร์โบไฮเดรตกลุ่มควบคุม และกลุ่มใช้ใบปอสาหมักแห้งที่ระดับ 3 % มีค่าสูงกว่ากลุ่มใช้ใบปอสาที่ระดับ 6 และ9 % (P<0.05) เปอร์เซ็นต์การย่อยได้ของชีวภาพปรากฏ กลุ่มที่ใช้ใบปอสาหมักแห้งระดับ 9 % มีค่าต่ำกว่ากลุ่มควบคุม และ กลุ่มที่ใช้ใบปอสาหมักแห้งที่ระดับ 3 และ 6 % มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) การทดลองที่ 2 เป็นการศึกษาสมรรถภาพการเจริญเติบโต และคุณภาพซากของสุกรขุน โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ในบล็อก (Randomized Completely Block Design, RCBD) ประกอบด้วย 4 กลุ่มการทดลอง แต่ละกลุ่มการทดลองมี 5 ซ้ำ ซ้ำละ 2 ตัว (คละเพศ) น้ำหนักเริ่มต้นเฉลี่ย 20 กิโลกรัมต่อตัว รวมทั้งหมด 40 ตัว โดยใช้อาหารทดลอง 4 สูตร เหมือนกันกับการทดลองที่ 1 พบว่าตลอดระยะเวลาการทดลองสมรรถภาพการเจริญเติบโต ลักษณะซาก คุณภาพเนื้อ และต้นทุนค่าอาหารที่ใช้ต่อการเพิ่มน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม (บาท) ในทุกกลุ่มการทดลอง ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) แต่พบว่าการใช้ใบปอสาหมักแห้งในสูตรอาหารระดับที่ต่างกันทำให้น้ำหนักซากอุ่น และน้ำหนักซากเย็น มีความแตกต่างกันอย่างมินัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) โดยกลุ่มที่ใช้ใบปอสาในสูตรอาหารระดับ 9 % มีค่าลดลง จากการศึกษาในครั้งนี้สามารถสรุปได้ว่า การใช้ใบปอสาหมักแห้งที่ระดับ 3 และ 6 % เป็นระดับที่เหมาะสมต่อสมรรถภาพการเจริญเติบโต และลักษณะซากของสุกร แต่การที่ใช้ใบปอสาระดับ 9 % จะทำให้สรรถภาพการเจริญเติบโตมีค่าลดลงเล็กน้อยแต่ไม่แตกต่างกันทางสถิติth
dc.language.isoth-
dc.publisherMaejo University-
dc.rightsMaejo University-
dc.subjectสุกรth
dc.subjectใบปอสาหมักแห้งth
dc.subjectประสิทธิภาพการย่อยได้th
dc.subjectสมรรถภาพการเจริญเติบโตth
dc.subjectคุณะภาพซากth
dc.subjectFattening pigen
dc.subjectDried paper mulberry leaf silageen
dc.subjectDigestibilityen
dc.subjectGrowth performanceen
dc.subjectCarcass qualityen
dc.subject.classificationVeterinaryen
dc.titleEFFECTS OF DRIED PAPER MULBERRY LEAF SILAGE SUPPLEMENTATION ON NUTRIENT DIGETIBILITIES, GROWTH PERFORMANCE AND CARCASS QUALITY ON PIGSen
dc.titleผลของการใช้ใบปอสาหมักแห้งในอาหารต่อการย่อยได้ของโภชนะ สมรรถภาพการเจริญเติบโต และคุณภาพซากของสุกรth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Animal Science and Technology

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6022301005.pdf1.55 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.