Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/250
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNipapan Saikaewen
dc.contributorนิภาพรรณ ทรายแก้วth
dc.contributor.advisorPiyawan Siriprasertsinen
dc.contributor.advisorปิยวรรณ สิริประเสริฐศิลป์th
dc.contributor.otherMaejo University. Information and Communicationen
dc.date.accessioned2020-01-28T04:12:32Z-
dc.date.available2020-01-28T04:12:32Z-
dc.date.issued2019-
dc.identifier.urihttp://10.1.245.54/dspace/handle/123456789/250-
dc.descriptionMaster of Arts (Master of Arts (Digital Communication))en
dc.descriptionศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การสื่อสารดิจิทัล))th
dc.description.abstractThis study aimed to compare learning achievement of undergraduate students on the creation of 3D task through online digital video with different presentation techniques: normal and special techniques. The sample group in this study consisted of 60 first year students, Faculty of Information and Communication, Maejo University. All of them had never learned about the creation of 3D in Illustrator program. Research instruments in this study were a normal online digital video and a special one, questionnaire, test paper, a practice performance measuring form, Obtained data were analyzed for finding frequency. Percentage, mean, and standard deviation. Also, t-test was employed in this study. Results of the study revealed that there was a statistically significant difference level at .05 based on cognitive domain between the normal and the special technique group. That was, the former had less increased cognitive domain learning achievement than that of the latter. However, there was no statistically significant difference at .o5 based on psychomotor domain between the normal and the special technique groups. That was, the former had less increased psychomotor domain learning achievement than that of the latter. The normal and the special technique groups had the following affective domain behaviors: They were interested in learning the creation of 3D task more than before. This was because they wanted to be skillful in it for various aspects of design task such as printed media, online advertisement media, and video. Besides, it was found that the normal group was satisfied with the creation of 3D task at a highest level because it was appropriate with teaching / learning activities. Likewise, the special technique group was satisfied with the creation of 3D task at a highest level. This was based on the following: true application, clear picture and sound, alphabets are easy to read, and content is easy to understand and appropriate with current teaching/ learning activities.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลการเรียนรู้  การสร้างงาน 3 มิติ ของนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้ ระดับปริญญาตรี จากการเรียนรู้ผ่านสื่อวีดิทัศน์ดิจิทัลออนไลน์แบบปกติ และสื่อวีดิทัศน์ดิจิทัลออนไลน์แบบเทคนิคพิเศษ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ชั้นปีที่ 1 คณะสารสนเทศและการสื่อสาร ที่ยังไม่เคยผ่านการเรียนเนื้อหาเกี่ยวกับการสร้างตัวอักษร 3 มิติ ในโปรแกรม Illustrator มาก่อน จำนวน 60 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้ คือ สื่อวีดิทัศน์ดิจิทัลออนไลน์แบบปกติ และแบบเทคนิคพิเศษ แบบทดสอบ แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม และแบบวัดผลงานภาคปฏิบัติ ผู้วิจัยดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ 1. นักศึกษา กลุ่มที่เรียนรู้ผ่านสื่อวีดิทัศน์ดิจิทัลออนไลน์ด้วยเทคนิคการนำเสนอแบบปกติและแบบเทคนิคพิเศษมีผลการเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัย เพิ่มขึ้นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 โดยกลุ่มที่เรียนรู้ผ่านสื่อวีดิทัศน์ดิจิทัลออนไลน์ด้วยเทคนิคการนำเสนอแบบปกติ มีผลการเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัย เพิ่มขึ้นน้อยกว่ากลุ่มที่เรียนรู้ผ่านสื่อ วีดิทัศน์ดิจิทัลออนไลน์ด้วยเทคนิคการนำเสนอแบบเทคนิคพิเศษ 2. นักศึกษา กลุ่มที่เรียนรู้ผ่านสื่อวีดิทัศน์ดิจิทัลออนไลน์ด้วยเทคนิคการนำเสนอแบบปกติและแบบเทคนิคพิเศษมีผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย เพิ่มขึ้นไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 โดยกลุ่มที่เรียนรู้ผ่านสื่อวีดิทัศน์ดิจิทัลออนไลน์ด้วยเทคนิคการนำเสนอแบบปกติ มีผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย เพิ่มขึ้นน้อยกว่ากลุ่มที่เรียนรู้ผ่านสื่อวีดิทัศน์ดิจิทัลออนไลน์ด้วยเทคนิคการนำเสนอแบบเทคนิคพิเศษ 3. นักศึกษา กลุ่มที่เรียนรู้ผ่านสื่อวีดิทัศน์ดิจิทัลออนไลน์ด้วยเทคนิคการนำเสนอแบบปกติและแบบเทคนิคพิเศษ มีพฤติกรรมด้านจิตพิสัย ดังนี้ นักศึกษาสนใจเรียนรู้เทคนิคการสร้างตัวอักษร 3 มิติ ในโปรแกรม Illustrator มากขึ้น ต้องการฝึกให้มีความเชี่ยวชาญ ต้องการนำไปใช้ร่วมกับงานออกแบบในด้านต่างๆ เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโฆษณาออนไลน์ งานวีดิโอ เพื่อมาปรับใช้ในการเรียน การทำงานในอนาคต ทั้งนี้นักศึกษากลุ่มที่เรียนรู้ผ่านสื่อวีดิทัศน์ดิจิทัลออนไลน์แบบปกติ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด เหมาะสมสำหรับการเรียนการสอนในยุคปัจจุบัน ส่วนนักศึกษาที่เรียนรู้ผ่านสื่อวีดิทัศน์ดิจิทัลออนไลน์แบบเทคนิคพิเศษ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด เนื้อหาสามารถนำไปปฏิบัติได้จริง ภาพคมชัดสวยงาม เสียงบรรยายชัดเจน ตัวอักษรอ่านง่าย เนื้อหาครอบคลุมเข้าใจง่าย เหมาะสมสำหรับการเรียนการสอนในยุคปัจจุบันth
dc.language.isoth-
dc.publisherMaejo University-
dc.rightsMaejo University-
dc.subjectการสร้างงาน 3 มิติth
dc.subjectสื่อวีดิทัศน์ดิจิทัลออนไลน์th
dc.subjectพุทธิพิสัยth
dc.subjectทักษะพิสัยth
dc.subjectจิตพิสัยth
dc.subjectเทคนิคการนำเสนอสื่อวีดิทัศน์ดิจิทัลออนไลน์แบบปกติth
dc.subjectเทคนิคการนำเสนอสื่อวีดิทัศน์ดิจิทัลออนไลน์แบบเทคนิคพิเศษth
dc.subject3D Tasken
dc.subjectOnline digital videoen
dc.subjectAffective domainen
dc.subjectPsychomotor domainen
dc.subjectCognitive domainen
dc.subjectOnline digital video with normal techniqueen
dc.subjectOnline digital video with special techniqueen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleLEARNING ACHIEVEMENT OF UNDERGRAGUATE STUDENTS ON THE CREATION OF 3D TASK THROUGH ONLINE DIGITAL VIDEO WITH DIFFERENT PRESENTATION TECHNIQUESen
dc.titleผลการเรียนรู้ของนักศึกษาระดับปริญญาตรีในการสร้างงาน 3 มิติ ผ่านสื่อ วีดิทัศน์ดิจิทัลออนไลน์ด้วยเทคนิคการนำเสนอที่แตกต่างกันth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Information and Communication

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5818402004.pdf4.95 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.