Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/25
Title: | EFFECTS OF WATER MANAGEMENT ON GROWTH AND YIELD OF RICE ผลกระทบของการจัดการน้ำต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าว |
Authors: | Keooudone Sanmany Keooudone Sanmany Ke Nunthasen เก นันทะเสน Maejo University. Agricultural Production |
Issue Date: | 2020 |
Publisher: | Maejo University |
Abstract: | This research studies appropriate water management for dry season. The study has the objective of assessing rice growth and yield components of alternate wetting and drying planted rice, and hence compare the amount of water used in cultivating one kilogram of paddy rice. The study makes use of Randomized Complete Block Design (RCBD) with four replicates of six treatments 1) continuous alternate wetting and drying at 5 centimeters water level lower than soil surface. 2) alternate wetting and drying once at 15 centimeters 3) alternate wetting and drying twice at 15 centimeters 4) alternate wetting and drying once at 20 centimeters 5) alternate wetting and drying twice at 20 centimeters and 6) control of water level throughout the growing season at 5 centimeters above ground level. Riceberry variety seeds were used at 5 kg/rai in 5 x 10 meters plots. The experiment was conducted at Mae Tang irrigation research station in Chiang Mai province during 2016 dry season. The result showed that yield and yield components were not statistically significant different (p > 0.05). Continuous alternate wetting and drying at 5 centimeters used the lowest amount of water at 678.09 liters per 1 kg of paddy rice. Controlled water method was at 1,067.61 liters per 1 kg of paddy rice. This signifies that alternate wetting and drying method can help minimize the use of water up to 389.52 liters per 1 kg of paddy rice or 36.49 % while giving non significantly different in yield compare to controlled water method throughout the growing season (p > 0.05).
Key words: Rice, yield, yield component, water management, alternete wetting and drying.
การศึกษาการจัดการน้ำที่เหมาะสมสำหรับการปลูกข้าวฤดูนาปรัง มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบการเจริญเติบโต องค์ประกอบผลผลิต และผลผลิตของข้าวที่ปลูกแบบเปียกสลับแห้ง (แกล้งข้าว) และเปรียบเทียบปริมาณการใช้น้ำในการผลิตข้าว วางแผนการทดลองแบบสุ่มในบล็อกแบบสมบูรณ์ Randomized Complete Block Design (RCBD) จำนวน 4 ซ้ำ 6 สิ่งทดลอง ได้แก่ 1) แกล้งตลอดที่ระดับน้ำต่ำกว่าผิวดิน 5 เซนติเมตร (เปียกสลับแห้ง) 2) แกล้ง 1 ครั้ง ที่ 15 เซนติเมตร 3) แกล้ง 2 ครั้ง ที่ 15 เซนติเมตร 4) แกล้ง 1 ครั้ง ที่ 20 เซนติเมตร 5) แกล้ง 2 ครั้ง ที่ 20 เซนติเมตร และ 6) รักษาระดับน้ำตลอดฤดูกาลปลูกที่ระดับเหนือผิวดิน 5 เซนติเมตร ใช้พันธุ์ข้าวไรซ์เบอร์รี่ อัตราเมล็ดพันธุ์ 5 กิโลกรัมต่อไร่ ขนาดแปลง 5 x 10 เมตร ดำเนินการที่สถานีทดลองการใช้น้ำชลประทาน 1 (แม่แตง) จังหวัดเชียงใหม่ ในฤดูนาปรัง 2559 พบว่า องค์ประกอบผลผลิตและผลผลิต ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p > 0.05) วิธีแกล้งตลอดที่ระดับน้ำต่ำกว่าผิวดิน 5 เซนติเมตร ใช้น้ำน้อยที่สุด เท่ากับ 678.09 ลิตรต่อข้าวเปลือก 1 กิโลกรัม ในขณะที่วิธีรักษาน้ำตลอดใช้น้ำเท่ากับ 1,067.61 ลิตรต่อข้าวเปลือก 1 กิโลกรัม แสดงให้เห็นว่า วิธีเปียกสลับแห้ง สามารถประหยัดน้ำได้ถึง 389.52 ลิตรต่อข้าวเปลือก 1 กิโลกรัม หรือลดปริมาณการใช้น้ำได้ร้อยละ 36.49 โดยให้ผลผลิตไม่แตกต่างกันทางสถิติ กับวิธีการควบคุมที่มีการรักษาระดับน้ำตลอดฤดูกาลปลูก คำสำคัญ: ข้าว ผลผลิต องค์ประกอบผลผลิต การจัดการน้ำ เปียกสลับแห้ง |
Description: | Master of Science (Master of Science (Agronomy )) วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (พืชไร่)) |
URI: | http://10.1.245.54/dspace/handle/123456789/25 |
Appears in Collections: | Agricultural Production |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5801301005.pdf | 2.35 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.