Please use this identifier to cite or link to this item: http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/2311
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorชาญณรงค์ ดวงสอาด และคณะ-
dc.date.accessioned2024-09-09T09:08:50Z-
dc.date.available2024-09-09T09:08:50Z-
dc.date.issued1982-
dc.identifier.urihttp://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/2311-
dc.description.abstractจากการศึกษาช่วงเวลาและเขตแพร่ระบาดพบว่า หนอนคืบกินใบลําไยจะเริ่มลงทําลายในระยะแตกใบอ่อน คือในช่วงเดือนสิงหาคมถึงกันยายน และช่วงเดือนมกราคมถึงกุมภาพันธ์ โดยในช่วงแรกปริมาณการระบาดจะสูงกว่าในช่วงที่สอง สําหรับเขตแพร่ระบาดจะพบตามสวนลําไยที่ตั้งอยู่ที่ราบลุ่มแม่น้ำปิง และพันธุ์ลําไยที่หนอนคืบลําไยชอบทำลายที่สุดคือ พันธุ์เบี้ยวเขียว รองลงมาคือพันธุ์ดีแห้ว พันธุ์อีดอ และพันธุ์พื้นเมือง ตามลําดับ จากการสํารวจศัตรูธรรมชาติ, พบแตนเบียน Braconids ทําลายในระยะตัวหนอน แตนเบียน Chalcids, Ichneumons และ Tachinids ทําลายในระยะดักแด้ แตนเบียนทั้ง 4 ชนิดมีประสิทธิภาพสูงในการควบคุมระดับประชากรของหนอนคืบกินใบลําไย ทําให้ไม่เกิดการระบาดทําความเสียหายแก่ลําไย และการป้องกันกําจัดจึงไม่จําเป็นต้องกระทําen_US
dc.description.sponsorshipสำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีการเกษตรแม่โจ้ เชียงใหม่en_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยแม่โจ้en_US
dc.subjectหนอนen_US
dc.subjectการควบคุมหนอนen_US
dc.subjectหนอนคืบen_US
dc.subjectการป้องกันหนอนคืบen_US
dc.subjectการป้องกันและควบคุมen_US
dc.subjectการควบคุมโดยชีววิทยาen_US
dc.titleการศึกษาทางชีววิทยา นิเวศน์วิทยาของหนอนคืบกินใบลำไย Oxyodes scrobiculata F. (Lepidoptera : Nootuidae) และแนวทางในการป้องกันกำจัดen_US
dc.typeOtheren_US
Appears in Collections:RAE-Technical Report

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RM-2566-0011-348366.PDF1.14 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.